ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผักกาดหัว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
{{ขาดตารางจำแนก}}
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ขาดตารางจำแนก}}
{{ขาดตารางจำแนก}}
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
บรรทัด 4: บรรทัด 5:
'''หัวผักกาด''' หรืออีกชื่อว่า '''ห้วไช้เท้า''' เป็น[[ผัก]]ที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่าง[[อาหารญี่ปุ่น]]ก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]] ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็น[[หัวไช้โป๊ว]]ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท
'''หัวผักกาด''' หรืออีกชื่อว่า '''ห้วไช้เท้า''' เป็น[[ผัก]]ที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่าง[[อาหารญี่ปุ่น]]ก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]] ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็น[[หัวไช้โป๊ว]]ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท


{{โครงพืช}}
[[หมวดหมู่:ผัก]]
[[หมวดหมู่:ผัก]]
{{โครงพืช}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:35, 13 มิถุนายน 2551

หัวผักกาด หรืออีกชื่อว่า ห้วไช้เท้า เป็นผักที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่างอาหารญี่ปุ่นก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงในซีอิ๊ว ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็นหัวไช้โป๊วไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท