ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตตลิ่งชัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
{{ฝั่งธนบุรี}}
{{ฝั่งธนบุรี}}
[[Category:เขตตลิ่งชัน| ]]
[[Category:เขตตลิ่งชัน| ]]
[[Category:เขต|ตลิ่งชัน]]

[[de:Taling Chan]]
[[de:Taling Chan]]
[[en:Taling Chan]]
[[en:Taling Chan]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:45, 1 มีนาคม 2549

เขตตลิ่งชัน เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ เขตตลิ่งชัน หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ
เขตตลิ่งชัน
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhet Taling Chan
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตตลิ่งชัน
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตตลิ่งชัน
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
พื้นที่
 • ทั้งหมด29.479 ตร.กม. (11.382 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2548)
 • ทั้งหมด105,430 คน
 • ความหนาแน่น3,576 คน/ตร.กม. (9,260 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10170
รหัสภูมิศาสตร์1019
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขตตลิ่งชัน เป็นหนึ่งใน 50 เขตของกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่รอบนอกอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเรียกว่า "ฝั่งธน"

ที่ตั้งและอาณาเขต

อยู่ในกลุ่มเขตมหาสวัสดิ์ ทางทิศเหนือของฝั่งธนบุรี และมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติศาสตร์

เขตตลิ่งชันเดิมเป็นอำเภอเก่าแก่อยู่ในพื้นที่การปกครองของจังหวัดธนบุรี แต่ปัจจุบันธนบุรีได้รวมอยู่กับกรุงเทพมหานครแล้ว ในปี พ.ศ. 2541 พื้นที่เขตทางทิศตะวันตกของถนนกาญจนาภิเษกได้ถูกแบ่งและจัดตั้งเป็นเขตใหม่ คือเขตทวีวัฒนา ทุกวันนี้ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเขตก็ยังคงเป็นพื้นที่เกษตร ได้แก่ สวนผัก สวนผลไม้ แต่ก็เริ่มที่จะมีการสร้างบ้านจัดสรรเข้ามาด้วย

การแบ่งเขตการปกครอง

เขตตลิ่งชันแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 6 แขวง (khwaeng) ได้แก่

1. คลองชักพระ (Khlong Chak Phra)
2. ตลิ่งชัน (Taling Chan)
3. ฉิมพลี (Chimphli)
4. บางพรม (Bang Phrom)
5. บางระมาด (Bang Ramat)
6. บางเชือกหนัง (Bang Chueak Nang)

การคมนาคม

ปัจจุบันในพื้นที่เขตตลิ่งชันมีทางสายหลักอยู่ 3 สาย คือ ถนนบรมราชชนนี ถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี และถนนราชพฤกษ์

ส่วนทางสายรองนั้นมีอยู่ทั่วไป และเข้าถึงพื้นที่เกือบทั้งหมดของเขต ได้แก่ ถนนฉิมพลี ถนนทุ่งมังกร ถนนสวนผัก ถนนบางพรม ถนนชักพระ ถนนบางระมาด ถนนวัดอินทราวาส ถนนบางเชือกหนัง ถนนแก้วเงินทอง ถนนชัยพฤกษ์ และถนนปากน้ำกระโจมทอง ซึ่งตามริมถนนทั้งสายหลักและรองดังกล่าวก็ยังมีตรอกซอกซอยแยกย่อยออกไปอีก

ลิงก์ภายนอก

แม่แบบ:ฝั่งธนบุรี