ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บุคลากรในงานภาพยนตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Baritoreca (คุย | ส่วนร่วม)
Baritoreca (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 43: บรรทัด 43:


[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์]]
[[หมวดหมู่:บุคลากรในงานภาพยนตร์]]
{{โครงภาพยนตร์}}
{{โครงภาพยนตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:14, 21 เมษายน 2551

บุคลากรในงานภาพยนตร์ มีด้วยกันหลากหลายตำแหน่งมาก อาจสามารถจำแนกได้ทั้ง ก่อนการผลิต ระหว่างการผลิต และหลังการผลิต แต่บางตำแหน่งก็อาจจะไม่ตายตัว บางต่ำแหน่งต้องรับผิดชอบงานทั้งหมดก็มี หรือบางตำอาจมีปลีกย่อยลงไปได้อีก โดยมีดังต่อไปนี้

ก่อนการผลิต

  • Author : ผู้ประพันธ์ อาจเป็นผู้ที่แต่งชิ้นงานนั้นๆขึ้นมาอยู่แล้ว
  • Screenwriter : ผู้เขียนบท
  • Producer : ผู้อำนวยการสร้าง เป็นผู้ที่ออกงบประมาณในการสร้างให้

ระหว่างการผลิต

  • Associate Producer : ผู้อำนวยการดูการสร้าง เป็นคนที่คอยมาตรวจดูการสร้าง
  • Director : ผู้กำกับ เป็นผู้ที่ควบคุมกองการถ่ายทำภาพยนตร์
  • First Assistant Director : ผู้ช่วยผู้กำกับ คนที่ 1 เป็นผู้ช่วยดูแลในกองถ่ายทำภาพยนตร์
  • Second Assistant Director : ผู้ช่วยผู้กำกับ คนที่ 2 (อาจมี หรือไม่มีก็ได้)
  • Director of Photography : ผู้กำกับภาพ ดูแลเรื่องภาพที่จะถ่ายออกมา
  • Continuity : ผู้จดจำความต่อเนื่อง คอยดูแลความต่อเนื่อง ของการแสดง ในแต่ละช็อต
  • Camera Operator : ผู้ถ่ายภาพ หรือ Camera Man
  • Focuspuller : ผู้ช่วยผู้ถ่ายภาพ 1 คอยช่วยอยู่ข้างๆผู้ถ่าย
  • Claper/Loader : ผู้ช่วยผู้ถ่ายภาพ 2 ช่วยในการวัดระยะภาพ และบันทึกสเลท
  • Dolly Pusher : ผู้เข็นดอลลี่ คอยเข็นดอลลี่ (ฐานเลื่อนใต้กล้อง บางทีอาจรวมถึงเครนด้วย)
  • Art Director : ผู้กำกับฝ่ายศิลป์ มีหน้าที่ดูแล และตกแต่งฉาก
  • Property Master : หัวหน้าอุปกรณ์ และวัสดุ
  • Rigger : ผู้ดูแลเครื่องมือขนาดใหญ่
  • Unit Crapenter / Painter งานไม้ และทาสี (หน่วยประกอบฉาก)
  • Wardrobe Supervisor  : หัวหน้าเครื่องแต่งกาย
  • Chief Make-Up Artist : หัวหน้าฝ่ายแต่งหน้า
  • Hair Stylist : ผู้ออกแบบทรงผม
  • Actor : นักแสดงชาย
  • Actress : นักแสดงหญิง
  • Stills Photographer : ผู้บันทึกภาพนิ่ง, ถ่ายภาพนิ่ง
  • Police Liasion : ผู้ติดต่อประสานงาน คอยประสานงานระหว่างกองถ่าย และบุคคลภายนอก
  • Electrician  : ช่างไฟฟ้า ดูแลเรื่องไฟฟ้าในกองถ่าย
  • Sound Engineer : ผู้บันทึกเสียง คอยดูแลเรื่องเสียง
  • Assistant Sound Engineer : ผู้ช่วยผู้บันทึกเสียง ส่วนมากจะต้องช่วยถือไมล์บูม
  • Editor : ผู้ตัดต่อลำดับภาพ
  • Production Manager : ผู้จัดการฝ่ายผลิต เป็นผู้ที่คอยควบคุม และคอยดูแล ในกองถ่ายภาพยนตร์อีกทีนึง
  • Production Accountant : ผู้อำนวยการงบประมาณ ในกองถ่ายทำ

ในกองบางกองอาจจะมีปลีกย่อยลงไปอีก หรือมีน้อยกว่านี้ ขึ้นอยู่กับขนาดในกองถ่าย

หลังการผลิต

  • Publicity Director : บรรณาธิการฝ่ายประชาสัมพันธ์

อ้างอิง