ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทนาคพันธ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
คุณน้ำตาล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คุณน้ำตาล (คุย | ส่วนร่วม)
.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{สั้นมาก}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''ปราสาทนาคพัน''' (Neak Pean) เขมรออกเสียงว่า "เนียกปวน" <ref> "แอบชมลายขอม" > เสนีย์ เกษมวัฒนากุล, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539, หน้า 78 </ref> เป็นปราสาทขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฐานกลมที่มีลักษณะซ้อนลดหลั่นกันลงไปเป็นชั้นๆ ชั้นสุดท้ายเป็นรูป[[พญานาค]] 7 เศียร 2 ตัว โอบล้อมฐานของปราสาทโดยหันส่วนหัวไปทางทิศตะวันออก และส่วนหาง วนอ้อมฐานมาบรรจบกันทางทิศตะวันตก ที่ฐานของปราสาทจำหลักรูปดอกบัวรองรับตัวปราสาท และมีรูป[[พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร]]ประดิษฐานอยู่ที่ปราสาททั้ง 4 ทิศ
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ปราสาทนาคพัน''' (Neak Pean) เขมรออกเสียงว่า "เนียกปวน" เป็นปราสาทที่สร้างอยู่กลางสระน้ำขนาดใหญ่ทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส โดยมีบ่อน้ำขนาดเล็ก 4 บ่ออยู่ทั้งสี่ด้าน


ปราสาทนาคพัน สร้างอยู่กลางสระสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาดใหญ่ มีบ่อน้ำขนาดเล็กตั้งอยู่โดยรอบทั้ง 4 ทิศ แต่ละบ่อมีส่วนที่เชื่อมต่อกับสระใหญ่ตรงกลางเพื่อให้น้ำจากสระใหญ่สามารถไหลไปสู่บ่อเล็กได้ การก่อสร้างปราสาทนาคพันน่าจะเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อทางศาสนา ผังของปราสาทเป็นลักษณะการจำลองของ[[สระอโนดาต]] <ref> "ชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายของอาณาจักรกัมพูชา", วรรณวิภา สุเนต์ตา, สำนักพิมพ์มติชน, 2548, หน้า 66,68 </ref> สระอโนดาตเป็นสระน้ำบนสวรรค์มีน้ำที่ใสสะอาดและเต็มเปี่ยมอยู่ตลอดเวลา มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า น้ำในสระอโนดาตจะไหลออกตามช่องภูเขาที่ตั้งอยู่ทั้ง 4 ทิศของสระ ซึ่งปากช่องของภูเขาแต่ละลูกจะเป็นรูปหน้าของสัตว์ 4 ชนิด คือ สิงห์ ช้าง ม้า และวัว <ref>"ประวัติวรรณคดี", รศ.ประจักษ์ ประภาพิทยากร </ref>
ที่ฐานของปราสาท สร้างเป็นบันไดวนโดยรอบลดหลั่นลงไปจนถึงก้นสระ บันไดขั้นสุดท้ายมีนาค 7 เศียร 2 ตัว ขดรอบฐานของปราสาทโดยหันด้านหัวไปทางทิศตะวันออก ส่วนด้านหางวนอ้อมฐานมาบรรจบกันทางทิศตะวันตก

ใน "ย้อนรอยอารยะเมืองพระนคร" ซึ่งเขียนโดย ชากส์ คูมาร์เชย์ และแปลโดยอาจารย์วีระ ธีรภัทร ได้กล่าวถึงรูปจำหลักในทิศทั้ง 4 ของปราสาทนาคพันว่า ที่สระน้ำทางทิศตะวันตกมีหินสลักเป็นรูปหัวมนุษย์ สระน้ำทางทิศเหนือมีหินสลักเป็นรูปหัวช้าง สระน้ำทางทิศตะวันออกมีหินสลักเป็นรูปหัวม้า และสระน้ำทางทิศใต้มีหินสลักเป็นรูปหัวสิงห์ <ref> "ย้อนรอยอารยะเมืองพระนคร", ชากส์ คูมาร์เชย์ (เขียน) วีระ ธีรภัทร (แปล), สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2548, หน้า 75 </ref> จะเห็นว่าช่างขอมจำหลักรูปหน้าสัตว์ประจำทิศในแต่ละทิศตามคติความเชื่อเรื่องสระอโนดาต แต่ในทิศตะวันตกกลับจำหลักรูปหน้าคนแทนหน้าวัว

คติความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการสร้างปราสาทนาคพันมีทั้งความเชื่อทาง[[พุทธศาสนา]]และ[[ศาสนาฮินดู]]ปะปนกัน ตัวปราสาทกลางสระสร้างตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ แต่ไม่ปรากฎรูป[[พระพุทธเจ้า]]กลับมีรูปสลักของ[[พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร]]แทน <ref> "แอบชมลายขอม" > เสนีย์ เกษมวัฒนากุล, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539, หน้า 80 </ref>


[[แหล่งอ้างอิง]]
----
{{reflist}}


ปราสาทนาคพันสร้างตามความเชื่อทั้งศาสนาพุทธมหายานและฮินดู กล่าวคือ ตัวปราสาทกลางสระเปรียบเสมือนศูนย์กลางของจักรวาล โดยบ่อน้ำทั้ง 4 ด้านเปรียบเสือนมหาสมุทรทั้ง 4


{{โครง}}





รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:15, 8 เมษายน 2551

ปราสาทนาคพัน (Neak Pean) เขมรออกเสียงว่า "เนียกปวน" [1] เป็นปราสาทขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฐานกลมที่มีลักษณะซ้อนลดหลั่นกันลงไปเป็นชั้นๆ ชั้นสุดท้ายเป็นรูปพญานาค 7 เศียร 2 ตัว โอบล้อมฐานของปราสาทโดยหันส่วนหัวไปทางทิศตะวันออก และส่วนหาง วนอ้อมฐานมาบรรจบกันทางทิศตะวันตก ที่ฐานของปราสาทจำหลักรูปดอกบัวรองรับตัวปราสาท และมีรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรประดิษฐานอยู่ที่ปราสาททั้ง 4 ทิศ

ปราสาทนาคพัน สร้างอยู่กลางสระสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาดใหญ่ มีบ่อน้ำขนาดเล็กตั้งอยู่โดยรอบทั้ง 4 ทิศ แต่ละบ่อมีส่วนที่เชื่อมต่อกับสระใหญ่ตรงกลางเพื่อให้น้ำจากสระใหญ่สามารถไหลไปสู่บ่อเล็กได้ การก่อสร้างปราสาทนาคพันน่าจะเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อทางศาสนา ผังของปราสาทเป็นลักษณะการจำลองของสระอโนดาต [2] สระอโนดาตเป็นสระน้ำบนสวรรค์มีน้ำที่ใสสะอาดและเต็มเปี่ยมอยู่ตลอดเวลา มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า น้ำในสระอโนดาตจะไหลออกตามช่องภูเขาที่ตั้งอยู่ทั้ง 4 ทิศของสระ ซึ่งปากช่องของภูเขาแต่ละลูกจะเป็นรูปหน้าของสัตว์ 4 ชนิด คือ สิงห์ ช้าง ม้า และวัว [3]

ใน "ย้อนรอยอารยะเมืองพระนคร" ซึ่งเขียนโดย ชากส์ คูมาร์เชย์ และแปลโดยอาจารย์วีระ ธีรภัทร ได้กล่าวถึงรูปจำหลักในทิศทั้ง 4 ของปราสาทนาคพันว่า ที่สระน้ำทางทิศตะวันตกมีหินสลักเป็นรูปหัวมนุษย์ สระน้ำทางทิศเหนือมีหินสลักเป็นรูปหัวช้าง สระน้ำทางทิศตะวันออกมีหินสลักเป็นรูปหัวม้า และสระน้ำทางทิศใต้มีหินสลักเป็นรูปหัวสิงห์ [4] จะเห็นว่าช่างขอมจำหลักรูปหน้าสัตว์ประจำทิศในแต่ละทิศตามคติความเชื่อเรื่องสระอโนดาต แต่ในทิศตะวันตกกลับจำหลักรูปหน้าคนแทนหน้าวัว

คติความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการสร้างปราสาทนาคพันมีทั้งความเชื่อทางพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูปะปนกัน ตัวปราสาทกลางสระสร้างตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ แต่ไม่ปรากฎรูปพระพุทธเจ้ากลับมีรูปสลักของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรแทน [5]


แหล่งอ้างอิง


  1. "แอบชมลายขอม" > เสนีย์ เกษมวัฒนากุล, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539, หน้า 78
  2. "ชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายของอาณาจักรกัมพูชา", วรรณวิภา สุเนต์ตา, สำนักพิมพ์มติชน, 2548, หน้า 66,68
  3. "ประวัติวรรณคดี", รศ.ประจักษ์ ประภาพิทยากร
  4. "ย้อนรอยอารยะเมืองพระนคร", ชากส์ คูมาร์เชย์ (เขียน) วีระ ธีรภัทร (แปล), สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2548, หน้า 75
  5. "แอบชมลายขอม" > เสนีย์ เกษมวัฒนากุล, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539, หน้า 80