ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้วยแขก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.9.2
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''กล้วยแขก''' หรือ '''กล้วยทอด''' เป็น[[ขนมไทย]]ชนิดหนึ่งซึ่งปรุงโดยการนำกล้วยตัดเป็นแผ่นหรือหั่นครี่งแล้วมาชุบน้ำแป้งซึ่งมีส่วนผสมของ[[แป้งข้าวเจ้า]], มะพร้าวขูดขาว, งาคั่ว , น้ำตาล และกะทิ แล้วจึงนำไปทอดในน้ำมันร้อนในกระทะ ใช้รับประทานเป็นอาหารว่าง
'''กล้วยแขก''' หรือ '''กล้วยทอด''' เป็น[[ขนมไทย]]ชนิดหนึ่งซึ่งปรุงโดยการนำกล้วยตัดเป็นแผ่นหรือหั่นครี่งแล้วมาชุบน้ำแป้งซึ่งมีส่วนผสมของ[[แป้งข้าวเจ้า]], มะพร้าวขูดขาว, งาคั่ว , น้ำตาล และกะทิ แล้วจึงนำไปทอดในน้ำมันร้อนในกระทะ ใช้รับประทานเป็นอาหารว่าง


แหล่งที่มีกล้วยแขกขึ้นชื่อ คือ [[ย่านนางเลิ้ง]] บริเวณ[[ถนนนครสวรรค์]]จนกระทั่งถึง[[แยกจักรพรรดิพงษ์]] และ[[แยกหลานหลวง]] ใน[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] กรุงเทพมหานคร ที่มีการทอดและขายกล้วยแขกกันมาอย่างยาวนานริมถนน มีจำหน่ายอยู่หลายราย โดยมีสัญลักษณ์เป็นจุดเด่น คือ [[ผ้ากันเปื้อน]]หรือเอี๊ยมในแต่ละสี ผู้ขายจะหิ้วถุงกล้วยแขกเดินเร่ขายไปตามท้องถนน โดยมากผู้ซื้อจะอยู่ในรถที่กำลังติดสัญญาณไฟจราจร<ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9490000115040|title= สงครามกล้วยทอด|date=12 September 2006|accessdate=5 October 2014|publisher=ผู้จัดการออนไลน์}}</ref> และได้มีการขยายไปจนถึงเชิง[[สะพานพระราม 8]], [[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]], [[ถนนราชดำเนิน]], [[แยกแม้นศรี]] จนกระทั่งในวันที่
แหล่งที่มีกล้วยแขกขึ้นชื่อ คือ [[ย่านนางเลิ้ง]] บริเวณ[[ถนนนครสวรรค์]]จนกระทั่งถึง[[แยกจักรพรรดิพงษ์]] และ[[แยกหลานหลวง]] ใน[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] กรุงเทพมหานคร ที่มีการทอดและขายกล้วยแขกกันมาอย่างยาวนานริมถนน มีจำหน่ายอยู่หลายราย โดยมีสัญลักษณ์เป็นจุดเด่น คือ [[ผ้ากันเปื้อน]]หรือเอี๊ยมในแต่ละสี ผู้ขายจะหิ้วถุงกล้วยแขกเดินเร่ขายไปตามท้องถนน โดยมากผู้ซื้อจะอยู่ในรถที่กำลังติดสัญญาณไฟจราจร<ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9490000115040|title=สงครามกล้วยทอด|date=12 September 2006|accessdate=5 October 2014|publisher=ผู้จัดการออนไลน์}}{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และได้มีการขยายไปจนถึงเชิง[[สะพานพระราม 8]], [[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]], [[ถนนราชดำเนิน]], [[แยกแม้นศรี]] จนกระทั่งในวันที่
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 [[สภากรุงเทพมหานคร]]มีมติห้ามขายบนพื้นถนน พร้อมกับบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ฝ่าฝืนมีโทษปรับผู้ขายไม่เกิน 5,000 บาท และผู้ซื้อไม่เกิน 2,000 บาท<ref>{{cite web|work=[[มติชน]]|url=https://www.matichon.co.th/news/841850|title=ถึงคิวคุมเข้ม ‘กล้วยทอด’ สี่แยก กทม.ใช้ กม.จับปรับคนซื้อ-ขาย|date=2018-02-14|accessdate=2018-02-21}}</ref>
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 [[สภากรุงเทพมหานคร]]มีมติห้ามขายบนพื้นถนน พร้อมกับบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ฝ่าฝืนมีโทษปรับผู้ขายไม่เกิน 5,000 บาท และผู้ซื้อไม่เกิน 2,000 บาท<ref>{{cite web|work=[[มติชน]]|url=https://www.matichon.co.th/news/841850|title=ถึงคิวคุมเข้ม ‘กล้วยทอด’ สี่แยก กทม.ใช้ กม.จับปรับคนซื้อ-ขาย|date=2018-02-14|accessdate=2018-02-21}}</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:21, 29 ตุลาคม 2565

กล้วยแขก

กล้วยแขก หรือ กล้วยทอด เป็นขนมไทยชนิดหนึ่งซึ่งปรุงโดยการนำกล้วยตัดเป็นแผ่นหรือหั่นครี่งแล้วมาชุบน้ำแป้งซึ่งมีส่วนผสมของแป้งข้าวเจ้า, มะพร้าวขูดขาว, งาคั่ว , น้ำตาล และกะทิ แล้วจึงนำไปทอดในน้ำมันร้อนในกระทะ ใช้รับประทานเป็นอาหารว่าง

แหล่งที่มีกล้วยแขกขึ้นชื่อ คือ ย่านนางเลิ้ง บริเวณถนนนครสวรรค์จนกระทั่งถึงแยกจักรพรรดิพงษ์ และแยกหลานหลวง ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ที่มีการทอดและขายกล้วยแขกกันมาอย่างยาวนานริมถนน มีจำหน่ายอยู่หลายราย โดยมีสัญลักษณ์เป็นจุดเด่น คือ ผ้ากันเปื้อนหรือเอี๊ยมในแต่ละสี ผู้ขายจะหิ้วถุงกล้วยแขกเดินเร่ขายไปตามท้องถนน โดยมากผู้ซื้อจะอยู่ในรถที่กำลังติดสัญญาณไฟจราจร[1] และได้มีการขยายไปจนถึงเชิงสะพานพระราม 8, สะพานผ่านฟ้าลีลาศ, ถนนราชดำเนิน, แยกแม้นศรี จนกระทั่งในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 สภากรุงเทพมหานครมีมติห้ามขายบนพื้นถนน พร้อมกับบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ฝ่าฝืนมีโทษปรับผู้ขายไม่เกิน 5,000 บาท และผู้ซื้อไม่เกิน 2,000 บาท[2]

ในอาหารเวียดนามมีอาหารที่คล้ายคลึงกันเรียกว่า จ๊วยเจียน (chuối chiên) ในอาหารอินโดนีเซียและมาเลเซียเรียกว่า ปีซังโกเร็ง (pisang goreng)[3] ในอาหารเบนินทำมาจากกล้ายมีลักษณะคล้ายกล้วยแขก แต่กรอบกว่า[4]

อ้างอิง

  1. "สงครามกล้วยทอด". ผู้จัดการออนไลน์. 12 September 2006. สืบค้นเมื่อ 5 October 2014.[ลิงก์เสีย]
  2. "ถึงคิวคุมเข้ม 'กล้วยทอด' สี่แยก กทม.ใช้ กม.จับปรับคนซื้อ-ขาย". มติชน. 2018-02-14. สืบค้นเมื่อ 2018-02-21.
  3. Vietnam - Page 18 Richard Sterling - 2000 "They are taken often and at any time of day. Vietnamese will eat whenever not eating becomes boring. Rice cookies, fried bananas, sweet potatoes, coconut candy, lotus seeds in syrup are all popular snacks."
  4. หน้า 18 เรื่องเล่าจากต่างแดน, ภาคต่อสาวไทยในเบนิน. "วัยรุ่นตะลุยโลก" โดย วิภาภัทร นิวาศะบุตร. เดลินิวส์ฉบับที่ 23,768: วันอาทิตย์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 แรม 3 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย