ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่าคงตัวอ็อยเลอร์–มัสเกโรนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า ค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนี ไปยัง ค่าคงตัวอ็อยเลอร์-มัสเกโรนี: ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์เยอรมัน 2561
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Add 1 book for WP:V (20220914)) #IABot (v2.0.9.1) (GreenC bot
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ค่าคงตัวนี้นิยมเขียนแทนด้วยอักษรกรีก γ ([[แกมมา]]) มีค่าประมาณคือ 0.57721 56649 01532 86060 65120 90082 40243 10421 59335
ค่าคงตัวนี้นิยมเขียนแทนด้วยอักษรกรีก γ ([[แกมมา]]) มีค่าประมาณคือ 0.57721 56649 01532 86060 65120 90082 40243 10421 59335


ผู้นิยามค่าคงตัวนี้เป็นครั้งแรกคือ [[เลอ็อนฮาร์ท อ็อยเลอร์]] [[นักคณิตศาสตร์]]ชาว[[สวิตเซอร์แลนด์]] โดยได้ตีพิมพ์ใน ''De Progressionibus harmonicus observationes'' ใน [[พ.ศ. 2478]] ปัจจุบันยังไม่ทราบว่า γ เป็น[[จำนวนตรรกยะ]]หรือไม่ แต่จากกระบวนการเศษส่วนต่อเนื่องได้แสดงให้เห็นว่า ถ้า γ เป็นจำนวนตรรกยะแล้ว ส่วนของ γ จะต้องมีค่ามากกว่า ''10<sup>242080</sup>''<ref>{{Cite book|last=Havil|first=Julian|title=Gamma: Exploring Euler's Constant|ISBN=978-0-69-117810-3|year=2003|publisher=Princeton University Press}}</ref>
ผู้นิยามค่าคงตัวนี้เป็นครั้งแรกคือ [[เลอ็อนฮาร์ท อ็อยเลอร์]] [[นักคณิตศาสตร์]]ชาว[[สวิตเซอร์แลนด์]] โดยได้ตีพิมพ์ใน ''De Progressionibus harmonicus observationes'' ใน [[พ.ศ. 2478]] ปัจจุบันยังไม่ทราบว่า γ เป็น[[จำนวนตรรกยะ]]หรือไม่ แต่จากกระบวนการเศษส่วนต่อเนื่องได้แสดงให้เห็นว่า ถ้า γ เป็นจำนวนตรรกยะแล้ว ส่วนของ γ จะต้องมีค่ามากกว่า ''10<sup>242080</sup>''<ref>{{Cite book|last=Havil|first=Julian|title=Gamma: Exploring Euler's Constant|url=https://archive.org/details/gammaexploringeu0000havi|ISBN=978-0-69-117810-3|year=2003|publisher=Princeton University Press}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:08, 15 กันยายน 2565

ค่าคงตัวอ็อยเลอร์-มัสเกโรนี (อังกฤษ: Euler–Mascheroni constant) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ส่วนมากใช้ในทฤษฎีจำนวน เป็นค่าของลิมิตระหว่างอนุกรมฮาร์โมนิกและลอการิทึมธรรมชาติ

ค่าคงตัวนี้นิยมเขียนแทนด้วยอักษรกรีก γ (แกมมา) มีค่าประมาณคือ 0.57721 56649 01532 86060 65120 90082 40243 10421 59335

ผู้นิยามค่าคงตัวนี้เป็นครั้งแรกคือ เลอ็อนฮาร์ท อ็อยเลอร์ นักคณิตศาสตร์ชาวสวิตเซอร์แลนด์ โดยได้ตีพิมพ์ใน De Progressionibus harmonicus observationes ใน พ.ศ. 2478 ปัจจุบันยังไม่ทราบว่า γ เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ แต่จากกระบวนการเศษส่วนต่อเนื่องได้แสดงให้เห็นว่า ถ้า γ เป็นจำนวนตรรกยะแล้ว ส่วนของ γ จะต้องมีค่ามากกว่า 10242080[1]

อ้างอิง

  1. Havil, Julian (2003). Gamma: Exploring Euler's Constant. Princeton University Press. ISBN 978-0-69-117810-3.