ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


หนังสือสามารถซื้อขายได้ที่[[ร้านหนังสือ]] และสามารถยืมได้จาก[[ห้องสมุด]] [[กูเกิล]]ประมาณว่าใน พ.ศ. 2553 มีการตีพิมพ์หนังสือประมาณ 130,000,000 เรื่องไม่ซ้ำกัน<ref>{{cite web |url=http://booksearch.blogspot.com/2010/08/books-of-world-stand-up-and-be-counted.html |date=August 5, 2010 |title=Books of the world, stand up and be counted! All 129,864,880 of you.|accessdate=2010-08-15 |quote=After we exclude serials, we can finally count all the books in the world. There are 129,864,880 of them. At least until Sunday. |publisher=Inside Google Books}}</ref>
หนังสือสามารถซื้อขายได้ที่[[ร้านหนังสือ]] และสามารถยืมได้จาก[[ห้องสมุด]] [[กูเกิล]]ประมาณว่าใน พ.ศ. 2553 มีการตีพิมพ์หนังสือประมาณ 130,000,000 เรื่องไม่ซ้ำกัน<ref>{{cite web |url=http://booksearch.blogspot.com/2010/08/books-of-world-stand-up-and-be-counted.html |date=August 5, 2010 |title=Books of the world, stand up and be counted! All 129,864,880 of you.|accessdate=2010-08-15 |quote=After we exclude serials, we can finally count all the books in the world. There are 129,864,880 of them. At least until Sunday. |publisher=Inside Google Books}}</ref>

== ประเภทของหนังสือ ==
* แบ่งตามการเผยแพร่ เช่น [[นิตยสาร]] [[วารสาร]] [[หนังสือพิมพ์]]
* แบ่งตามเนื้อหา เช่น [[หนังสือแบบเรียน]] [[หนังสือการ์ตูน]] [[หนังสือราชการ]] [[หนังสือภาพ]]

== การผลิตหนังสือ ==
หนังสือในปัจจุบันส่วนใหญ่จัดทำโดยวิธีการพิมพ์ โดยมีเทคโนโลยีการพิมพ์หลายแบบ การผลิตหนังสือจำนวนมากมีแหล่งผลิตเรียกว่า[[โรงพิมพ์]] หรือ [[สำนักพิมพ์]] หนังสือบางส่วนที่ผลิตโดยใช้คนทำเรียกว่า [[หนังสือทำมือ]]

== การจัดเก็บหนังสือ ==
ในสถานที่สำคัญเช่นโรงเรียน มีการจัดเก็บหนังสือไว้ใน[[ห้องสมุด]] เพื่อให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ โดยใครอ่านหนังสือมาก ๆ ก็จะเรียกว่า[[หนอนหนังสือ]] ส่วนบางคนที่ชอบการสะสมหนังสือจะมักจัดเก็บหนังสือบนชั้นวางหนังสือ หรือ ตู้หนังสือ

== หนังสือในประเทศไทย ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
ในปี [[พ.ศ. 2550]] เฉลี่ยมีหนังสือใหม่ออกมาสู่ตลาดประมาณเดือนละ 995 ชื่อเรื่อง หรือประมาณ 11,460 ชื่อเรื่องทั้งปี ซึ่งยังถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยทั่วประเทศมีร้านขายหนังสือประมาณ 1900 ร้าน และมีสำนักพิมพ์ประมาณ 500 แห่ง ร้านขายหนังสือที่เปิดเป็นสาขาในประเทศไทยเช่น [[ศูนย์หนังสือจุฬา]], [[ร้านนายอินทร์]], [[B2S]], [[ดอกหญ้า]] และ [[ซีเอ็ดบุคส์เซนเตอร์]] เป็นต้น สำนักพิมพ์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดในไทยปริมาณมากได้แก่ [[นานมีบุ๊คส์]], [[แพรวสำนักพิมพ์]], [[มติชน]], [[สำนักพิมพ์ใยไหม]] [[สำนักพิมพ์แจ่มใส]] เป็นต้น งานมหกรรมนังสือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคืองาน[[สัปดาห์หนังสือแห่งชาติ]] จัดขึ้นในช่วงฤดูร้อนของทุกปี โดยมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:43, 11 มิถุนายน 2565

หนังสือ เป็นสื่อที่รวบรวมของข้อมูล ประเภทตัวอักษร และ รูปภาพ ที่ลงในแผ่นกระดาษหรือวัสดุชนิดอื่น และรวมเข้าด้วยกัน ด้วยวิธีการ เย็บเล่ม หรือ ทากาว เข้าด้วยกันที่บริเวณขอบด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีขนาดต่าง ๆ กัน แต่มักจะไม่ทำใหญ่กว่าการจับและเปิดอ่านสะดวก หนังสือมักจะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล ความรู้ วรรณกรรม ต่าง ๆ สำหรับหนังสือในรูปแบบที่เก็บในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์ จะเรียกว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีบุ๊ก (e-book)

การจัดพิมพ์ตามมาตรฐานจะมีหมายเลขไอเอสบีเอ็น (ISBN) เพื่อจะระบุประเทศและสำนักพิมพ์

หนังสือสามารถซื้อขายได้ที่ร้านหนังสือ และสามารถยืมได้จากห้องสมุด กูเกิลประมาณว่าใน พ.ศ. 2553 มีการตีพิมพ์หนังสือประมาณ 130,000,000 เรื่องไม่ซ้ำกัน[1]

อ้างอิง

  1. "Books of the world, stand up and be counted! All 129,864,880 of you". Inside Google Books. August 5, 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-08-15. After we exclude serials, we can finally count all the books in the world. There are 129,864,880 of them. At least until Sunday.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Book