ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นรอบวง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
การคำนวณเส้นรอบวงของ[[วงรี]] ซับซ้อนกว่าวงกลม และเป็น[[อนุกรมอนันต์]] (infinite series) อาจประมาณได้จากสูตรของ [[รามานุจัน]] (นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย)
การคำนวณเส้นรอบวงของ[[วงรี]] ซับซ้อนกว่าวงกลม และเป็น[[อนุกรมอนันต์]] (infinite series) อาจประมาณได้จากสูตรของ [[รามานุจัน]] (นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย)


<math>c \approx \pi (3(a+b) - \sqrt{(3a+b) (a+3b) }) </math>
<math>c \approx \pi (3 (a+b) - \sqrt{ (3a+b) (a+3b) }) </math>


เมื่อ <math>a</math> และ <math>b</math> คือ [[กึ่งแกนเอก]]และกึ่งแกนโท ตามลำดับ สองค่านี้มีความสัมพันธ์กันกับ[[ความเยื้องศูนย์กลาง]]ของวงรี ดังต่อไปนี้
เมื่อ <math>a</math> และ <math>b</math> คือ [[กึ่งแกนเอก]]และกึ่งแกนโท ตามลำดับ สองค่านี้มีความสัมพันธ์กันกับ[[ความเยื้องศูนย์กลาง]]ของวงรี ดังต่อไปนี้
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
ซึ่งแสดงว่าสามารถเขียนสูตรคำนวณเส้นรอบวงของวงรีได้ดังนี้
ซึ่งแสดงว่าสามารถเขียนสูตรคำนวณเส้นรอบวงของวงรีได้ดังนี้


<math>c \approx \pi a (3(1+\sqrt{1-e^2}) - \sqrt{(3+ \sqrt{1-e^2}) (1+3 \sqrt{1-e^2}) }) = \pi a (3(1+\sqrt{1-e^2}) - \sqrt{3(2-e^2) +10 \sqrt{1-e^2}}) </math>
<math>c \approx \pi a (3 (1+\sqrt{1-e^2}) - \sqrt{ (3+ \sqrt{1-e^2}) (1+3 \sqrt{1-e^2}) }) = \pi a (3 (1+\sqrt{1-e^2}) - \sqrt{3 (2-e^2) +10 \sqrt{1-e^2}}) </math>


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 32: บรรทัด 32:


[[หมวดหมู่:เรขาคณิต|สเส้นรอบวง]]
[[หมวดหมู่:เรขาคณิต|สเส้นรอบวง]]
{{โครงเรขาคณิต}}


[[bg:Обиколка (геометрия)]]
[[bg:Обиколка (геометрия)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:01, 23 มีนาคม 2551

เส้นรอบวง (Circumference)

เส้นรอบวง คือ ระยะทางรอบเส้นโค้งปิด เส้นรอบวงเป็นเส้นรอบรูป (perimeter) ประเภทหนึ่ง

วงกลม

เส้นรอบวงของวงกลม สามารถคำนวณจากเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ตามสูตรต่อไปนี้

หรือคำนวณจากรัศมีของวงกลม

เมื่อ r คือ รัศมี และ d คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม และ π (อักษรกรีก - พาย) เป็นค่าคงที่ = 3.1415926...

วงรี

การคำนวณเส้นรอบวงของวงรี ซับซ้อนกว่าวงกลม และเป็นอนุกรมอนันต์ (infinite series) อาจประมาณได้จากสูตรของ รามานุจัน (นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย)

เมื่อ และ คือ กึ่งแกนเอกและกึ่งแกนโท ตามลำดับ สองค่านี้มีความสัมพันธ์กันกับความเยื้องศูนย์กลางของวงรี ดังต่อไปนี้

ซึ่งแสดงว่าสามารถเขียนสูตรคำนวณเส้นรอบวงของวงรีได้ดังนี้

แหล่งข้อมูลอื่น