ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โปรแกรมคอมพิวเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10078535 สร้างโดย 49.228.138.96 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9263377 สร้างโดย 2001:FB1:143:9763:5D2D:8529:C05F:4C63 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Hello world c.svg|thumb|300px|[[รหัสต้นฉบับ]] "Hello, World" ใน[[ภาษาซี]] [[สนิปเพต]]ที่รู้จักกันครั้งแรกในหนังสือ ''[[เดอะซีโปรแกรมมิงแลงกวิจ]]'' เขียนโดย[[ไบรอัน เคอร์เนแฮน]] และ[[เดนนิส ริตชี]] ในปี ค.ศ. 1974]]
[[ไฟล์:Hello world c.svg|thumb|300px|[[รหัสต้นฉบับ]] "Hello, World" ใน[[ภาษาซี]] [[สนิปเพต]]ที่รู้จักกันครั้งแรกในหนังสือ ''[[เดอะซีโปรแกรมมิงแลงกวิจ]]'' เขียนโดย[[ไบรอัน เคอร์เนแฮน]] และ[[เดนนิส ริตชี]] ในปี ค.ศ. 1974]]


'''โ'''<ref name="osc-ch3-p58" />'''ปรแกรมคอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|computer program}}) เป็น[[ชุดของคำสั่งเครื่อง|ชุดคำสั่ง]]<ref name="aup-ch4-p132">{{cite book
'''โปรแกรมคอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|computer program}}) เป็น[[ชุดของคำสั่งเครื่อง|ชุดคำสั่ง]]<ref name="aup-ch4-p132">{{cite book
| last = Rochkind
| last = Rochkind
| first = Marc J.
| first = Marc J.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:48, 3 พฤษภาคม 2565

รหัสต้นฉบับ "Hello, World" ในภาษาซี สนิปเพตที่รู้จักกันครั้งแรกในหนังสือ เดอะซีโปรแกรมมิงแลงกวิจ เขียนโดยไบรอัน เคอร์เนแฮน และเดนนิส ริตชี ในปี ค.ศ. 1974

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer program) เป็นชุดคำสั่ง[1] ที่ปฏิบัติงานเฉพาะเมื่อคอมพิวเตอร์สั่งกระทำการ (execute) คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งต้องการใช้โปรแกรมในการสั่งงาน และกระทำตามชุดคำสั่งในหน่วยประมวลผลกลาง[2]

โปรแกรมคอมพิวเตอร์มักเขียนโดยนักเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาโปรแกรม คอมไพเลอร์สามารถแปลงรหัสเครื่อง (machine code) ที่ประกอบด้วยชุดคำสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถกระทำการได้โดยตรงได้จากรหัสต้นฉบับ (source code) แบบมนุษย์อ่านได้ หรืออีกทางหนึ่ง โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถกระทำการได้ด้วยอินเทอร์พรีเตอร์

วนหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กระทำงานงานหนึ่งที่นิยามไว้อย่างดี เรียกว่าขั้นตอนวิธี (algorithm) ชุดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คลัง (library) และข้อมูลที่เกี่ยวข้องเรียกว่าซอฟต์แวร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจจัดประเภทได้จากฟังก์ชันยาวหลายบรรทัด เช่น โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ระบบ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Rochkind, Marc J. (2004). Advanced Unix Programming, Second Edition. Addison-Wesley. p. 1.1.2.
  2. Silberschatz, Abraham (1994). Operating System Concepts, Fourth Edition. Addison-Wesley. p. 58. ISBN 0-201-50480-4.