ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาอึลซา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Treaty
{{ใช้ปีคศ|232px}}
{{กล่องข้อมูล สนธิสัญญา
| name = สนธิสัญญาอึลซา
| name = สนธิสัญญาอึลซา
| long_name =
| long_name = สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลีฉบับที่สอง
| image =
| image = Jeongdong19.jpg
| image_width = 250 px
| image_width =
| caption =
| border = yes
| caption = หน้าลงตรารับรองที่จัดแสดง
| image2 = Jeongdong19.jpg
| image2_width = 200 px
| type =
| date_drafted = {{start date and age|1905|11|09}}
| caption2 = หน้าลงตรารับรอง
| date_signed = {{start date and age|1905|11|17}}
| type = สนธิสัญญา[[รัฐในอารักขา|การอารักขารัฐ]]
| location_signed = หอ Jungmyeongjeon, [[โซล|ฮันซ็อง]], [[จักรวรรดิเกาหลี|เกาหลี]]
| date_drafted =
| date_sealed =
| date_signed = 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905
| date_effective = {{start date and age|1905|11|17}}
| location_signed = [[พระราชวังด็อกซุกอุง]], [[โซล|กรุงฮันซอง]], [[จักรวรรดิเกาหลี]]
| date_sealed = 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905
| date_effective =
| condition_effective =
| condition_effective =
| date_expiration =
| date_expiration =
| signatories =
| signatories = {{flagicon|Korean Empire}} [[อี วันยง]]<br> {{flagicon|Korean Empire}} [[อี กวนแท็ก]] <br> {{flagicon|Korean Empire}} [[อี จียอง]] <br> {{flagicon|Korean Empire}} [[พัก เจซุน]]<br> {{flagicon|Korean Empire}} [[กวอน จุงฮยอน]]
* {{flag|Empire of Japan|size=23px}}
| parties = {{flagicon|Empire of Japan}} [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]<br />{{flagicon|Korean Empire}} [[จักรวรรดิเกาหลี]]
* {{Flagdeco|Korea|1899|size=23px}}&nbsp;[[จักรวรรดิเกาหลี]]
| depositor =
| depositor =
| language = [[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] และ [[ภาษาเกาหลี|เกาหลี]]
| languages =
| language =
| website =
| wikisource =
| wikisource =
}}
}}
{{Infobox Chinese
|title=สนธิสัญญาอึลซา
|hangul=을사조약
|hanja=乙巳條約
|rr=Eulsa joyak
|mr=Ŭlsa choyak
|koreantext=
|hangul2=제2차 한일협약
|hanja2=第二次韓日協約
|rr2=Je-i-cha Han-il Hyeop-yak
|mr2=Che-i-ch'a Han-il Hyŏp-yak
|hangul3=을사늑약
|hanja3=乙巳勒約
|rr3=Eulsa neugyak
|mr3=Ŭlsa nŭkyak
|kanji=第二次日韓協約
|kyujitai=
|shinjitai=
|kana=
|hiragana=だいにじにっかんきょうやく
|romaji=
|revhep= Dai-niji nikkan kyōyaku
|ibox-order=ja, ko1
}}
{{ใช้ปีคศ|232px}}
'''สนธิสัญญาอึลซา''' ({{lang-ko|을사조약, อึลซา-โจยัค}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลีฉบับที่สอง''' ({{ญี่ปุ่น|第二次日韓協約|Dai-niji nikkan kyōyaku|ได-นิจิ นิกกัน เกียวยากุ}}) เป็น[[สนธิสัญญา]]ที่ทำขึ้นระหว่าง[[จักรวรรดิเกาหลี]]กับ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ใน ค.ศ. 1905 โดยมีการลงนามเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905<ref>Korean Mission to the Conference on the Limitation of Armament, Washington, DC, 1921–1922. (1922). {{Google books|9OdAAAAAYAAJ |Korea's Appeal |page=35}}; excerpt, "Alleged Treaty, dated November 17, 1905."</ref> สนธิสัญญาฉบับนี้ คือการที่เกาหลียินยอมอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นในฐานะ[[รัฐในอารักขา]] ถือเป็นการรับรองสถานะของกองทหารญี่ปุ่นในเกาหลีให้ถูกต้องตามกฎหมาย ญี่ปุ่นมีอำนาจกำหนดนโยบายต่างประเทศของเกาหลีทั้งหมด แต่การปกครองภายในและนโยบายด้านอื่นยังดำเนินโดยข้าราชการชาวเกาหลี สนธิสัญญาฉบับนี้มีขึ้นภายหลังจากที่ญี่ปุ่นสามารถเอาชนะรัสเซียได้ใน[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] ที่ยุติไปเมื่อไม่กี่เดือนก่อนหน้า<ref>Clare, Israel ''et al.'' (1910). {{Google books|02cmAQAAIAAJ|''Library of universal history and popular science,'' p. 4732.|page=4732}}</ref>


คำว่า "อึลซา" หรือ "อุลซา" (을사) ในภาษาเกาหลีนั้น มาจากการที่วันลงนามในสนธิสัญญานี้ เกิดขึ้นในปีที่ 42 ตามระบบ[[แผนภูมิสวรรค์]]<ref>''Kodansha encyclopedia of Japan'', Vol 4, 1983, p. 289; "Ulsa is the designation in the sexagenary cycle for the year corresponding to 1905"</ref>
'''สนธิสัญญาอึลซา''' ({{lang-ko|을사조약, อึลซา-โจยัค}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลีฉบับที่สอง''' ({{ญี่ปุ่น|第二次日韓協約|ได-นิจิ-นิกกัน-เกียวยะกุ}}) เป็น[[สนธิสัญญา]]ที่ทำขึ้นระหว่าง [[จักรวรรดิเกาหลี]] และ [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]] ในปี ค.ศ. 1905 โดยมีการลงนามเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905 สนธิสัญญาฉบับนี้ คือการที่เกาหลียินยอมอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นในฐานะ[[รัฐในอารักขา]] ถือเป็นการรับรองสถานะของกองทหารญี่ปุ่นในเกาหลีให้ถูกต้องตามกฎหมาย ญี่ปุ่นมีอำนาจกำหนดนโยบายต่างประเทศของเกาหลีทั้งหมด แต่การปกครองภายในและนโยบายด้านอื่นยังดำเนินโดยข้าราชการชาวเกาหลี สนธิสัญญาฉบับนี้มีขึ้นภายหลังจากที่ญี่ปุ่นสามารถเอาชนะรัสเซียได้ใน[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] ที่ยุติไปเมื่อไม่กี่เดือนก่อนหน้า<ref>Clare, Israel ''et al.'' (1910). {{Google books|02cmAQAAIAAJ|''Library of universal history and popular science,'' p. 4732.|page=4732}}</ref>

คำว่า "อึลซา" หรือ "อุลซา" (을사) ในภาษาเกาหลีนั้น มาจากการที่วันลงนามในสนธิสัญญานี้ เกิดขึ้นในปีที่ 42 ตามระบบ[[แผนภูมิสวรรค์]]


== การลงนาม ==
== การลงนาม ==
บรรทัด 35: บรรทัด 55:
17 พฤศจิกายน พลเอก ฮาเซนาวะ โยชิมิชิ ผู้บัญชาการกองทหารรักษาการณ์ประจำเกาหลี พร้อมด้วย อิโต ฮิโรบูมิ และกองทหารญี่ปุ่นส่วนหนึ่ง ได้เข้าไปยังพระที่นั่งจุงเมียงจอน ซึ่งเป็นพระที่นั่งสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่ตั้งอยู่ในพระราชวังด็อกซุกอุง เพื่อเกลี้ยกล่อมให้จักรพรรดิเกาหลีลงพระนามในสนธิสัญญา แต่พระองค์ก็ได้ปฏิเสธ ดังนั้น อิโต จึงบีบบังคับด้วยกำลังทหารให้คณะรัฐมนตรีเกาหลีลงนาม<ref>McKenzie, F. A. ''Korea's Fight for Freedom''. 1920.</ref> อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีเกาหลี ฮัน กยูซอล ปฏิเสธการลงนามอย่างเสียงดัง อิโตจึงสั่งให้ทหารนำตัวเขาไปขัง และขู่ว่าถ้าเขายังไม่หยุดโวยวายเสียงดังจะสังหารเขา<ref>이토 히로부미는 직접~ :한계옥 (1998년 4월 10일). 〈무력을 앞장 세워 병탄으로〉, 《망언의 뿌리를 찾아서》, 조양욱, 1판 1쇄, 서울: (주)자유포럼, 97~106쪽쪽. ISBN 89-87811-05-0</ref> เมื่อเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ จึงมีรัฐมนตรีเกาหลี 5 คนซึ่งเรียกว่า "5 รัฐมนตรี" ยอมลงนาม คือ รัฐมนตรีศึกษาธิการ อี วันยง, รัฐมนตรีกองทัพ อี กวนแท็ก, รัฐมนตรีมหาดไทย อี จียอง, รัฐมนตรีต่างประเทศ พัก เจซุน และ รัฐมนตรีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม กวอน จุงฮยอน โดยที่จักรพรรดิโกจงไม่ได้ทรงร่วมลงพระนาม
17 พฤศจิกายน พลเอก ฮาเซนาวะ โยชิมิชิ ผู้บัญชาการกองทหารรักษาการณ์ประจำเกาหลี พร้อมด้วย อิโต ฮิโรบูมิ และกองทหารญี่ปุ่นส่วนหนึ่ง ได้เข้าไปยังพระที่นั่งจุงเมียงจอน ซึ่งเป็นพระที่นั่งสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่ตั้งอยู่ในพระราชวังด็อกซุกอุง เพื่อเกลี้ยกล่อมให้จักรพรรดิเกาหลีลงพระนามในสนธิสัญญา แต่พระองค์ก็ได้ปฏิเสธ ดังนั้น อิโต จึงบีบบังคับด้วยกำลังทหารให้คณะรัฐมนตรีเกาหลีลงนาม<ref>McKenzie, F. A. ''Korea's Fight for Freedom''. 1920.</ref> อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีเกาหลี ฮัน กยูซอล ปฏิเสธการลงนามอย่างเสียงดัง อิโตจึงสั่งให้ทหารนำตัวเขาไปขัง และขู่ว่าถ้าเขายังไม่หยุดโวยวายเสียงดังจะสังหารเขา<ref>이토 히로부미는 직접~ :한계옥 (1998년 4월 10일). 〈무력을 앞장 세워 병탄으로〉, 《망언의 뿌리를 찾아서》, 조양욱, 1판 1쇄, 서울: (주)자유포럼, 97~106쪽쪽. ISBN 89-87811-05-0</ref> เมื่อเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ จึงมีรัฐมนตรีเกาหลี 5 คนซึ่งเรียกว่า "5 รัฐมนตรี" ยอมลงนาม คือ รัฐมนตรีศึกษาธิการ อี วันยง, รัฐมนตรีกองทัพ อี กวนแท็ก, รัฐมนตรีมหาดไทย อี จียอง, รัฐมนตรีต่างประเทศ พัก เจซุน และ รัฐมนตรีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม กวอน จุงฮยอน โดยที่จักรพรรดิโกจงไม่ได้ทรงร่วมลงพระนาม


=== ข้อโต้แย้ง ===
=== การไม่ยอมรับของจักรพรรดิโกจง ===
[[Image:Eulsa retraction.jpg|thumb|300px|การวิเคราะห์ "สนธิสัญญา ค.ศ. 1905" ของ[[พระเจ้าโคจง]]]]
ภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผ่านพ้น จักรพรรดิโกจงได้ทรงส่งราชสาสน์ส่วนพระองค์ไปยังบรรดาประมุขแห่งรัฐของประเทศมหาอำนาจ เพื่อขอแนวร่วมเพื่อต่อต้านการลงนามที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย<ref name="king_letter">Lee Hang-bok. [http://joongangdaily.joins.com/article/view.asp?aid=2910347 "The King's Letter,"] ''English JoongAng Daily.'' September 22, 2009.</ref> โดยพระองค์ได้ส่งราชสาสน์ลงตราราชลัญจกรไปยัง 8 ประมุขแห่งรัฐ คือ
ภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผ่านพ้น จักรพรรดิโกจงได้ทรงส่งราชสาสน์ส่วนพระองค์ไปยังบรรดาประมุขแห่งรัฐของประเทศมหาอำนาจ เพื่อขอแนวร่วมเพื่อต่อต้านการลงนามที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย<ref name="king_letter">Lee Hang-bok. [http://joongangdaily.joins.com/article/view.asp?aid=2910347 "The King's Letter,"] ''English JoongAng Daily.'' September 22, 2009.</ref> โดยพระองค์ได้ส่งราชสาสน์ลงตราราชลัญจกรไปยัง 8 ประมุขแห่งรัฐ คือ
# [[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร]]
# [[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร]]
บรรทัด 44: บรรทัด 65:
# [[สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม]]
# [[สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม]]
# [[จักรพรรดิกวังซวี่|จักรพรรดิกวังซวี่แห่งจักรวรรดิชิง]]
# [[จักรพรรดิกวังซวี่|จักรพรรดิกวังซวี่แห่งจักรวรรดิชิง]]
# [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]
# [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]<ref name="king_letter"/>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 50: บรรทัด 71:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|30em}}

==บรรณานุกรม==
*{{Cite book
| last = Beasley, William G.
| author-link = William G. Beasley
| year = 1987
| title = Japanese Imperialism, 1894–1945
| publisher = Oxford University Press
| location = Oxford
}} {{ISBN|0198215754}} {{ISBN|9780198215752}}; {{ISBN|9780198221685}}; [http://www.worldcat.org/title/japanese-imperialism-1894-1945/oclc/14719443 OCLC 14719443]
* Carnegie Endowment for International Peace, Division of International Law. (1921). Pamphlet 43: ''Korea, Treaties and Agreements." The Endowment: Washington, D.C. [http://www.worldcat.org/title/pamphlet/oclc/1644278 OCLC 1644278]
* Clare, Israel Smith; Hubert Howe Bancroft and George Edwin Rines. (1910). ''Library of universal history and popular science.'' New York: The Bancroft society. [http://www.worldcat.org/title/library-of-universal-history-and-popular-science-containing-a-record-of-the-human-race-from-the-earliest-historical-period-to-the-present-time-embracing-a-general-survey-of-the-progress-of-mankind-in-national-and-social-life-civil-government-religion-literature-science-and-art/oclc/20843036 OCLC 20843036]
* Cordier, Henri and Edouard Chavannes. (1905). [https://books.google.com/books?id=HCgYAAAAYAAJ&pg=PA633&dq=trait%C3%A9s+++Cor%C3%A9e+1905+Japon&hl=en&ei=E3OATOXROoOC8gbJuOSNAQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=4&ved=0CDcQ6AEwAw#v=onepage&q=trait%C3%A9s%20%20%20Cor%C3%A9e%201905%20Japon&f=false "''Traité entre le Japon et la Corée'',"] ''Revue internationale de Sinologie'' (''International Journal of Chinese studies''). Leiden: E. J. Brill. [http://www.worldcat.org/title/tung-pao-toung-pao-international-journal-of-chinese-studies/oclc/1767648 OCLC 1767648]
*{{Cite book
| last = Duus
| first = Peter
| year = 1995
| title = The Abacus and the Sword: The Japanese Penetration of Korea, 1895–1910
| publisher = University of California Press
| location = Berkeley
}} {{ISBN|9780520086142}} {{ISBN|0520086147}}; {{ISBN|978-0-520-21361-6}}; {{ISBN|0-520-21361-0}}; [http://www.worldcat.org/title/abacus-and-the-sword-the-japanese-penetration-of-korea-1895-1910/oclc/232346524?referer=di&ht=edition OCLC 232346524]
* Korean Mission to the Conference on the Limitation of Armament, Washington, D.C., 1921–1922. (1922). ''Korea's Appeal to the Conference on Limitation of Armament.'' Washington: U.S. Government Printing Office. [http://www.worldcat.org/title/koreas-appeal-to-the-conference-on-limitation-of-armament/oclc/12923609 OCLC 12923609]
* Pak, Chʻi-yŏng. (2000). ''Korea and the United Nations.'' The Hague: Kluwer Law International. {{ISBN|9789041113825}}; [http://www.worldcat.org/title/korea-and-the-united-nations/oclc/247402192 OCLC 247402192]
* Tae-Jin, Yi. "Treaties Leading to Japan’s Annexation of Korea: What Are the Problems?." ''Korea Journal'' 56.4 (2016): 5-32. [http://www.ekoreajournal.net/issue/view_pop.htm?Idx=3740 online]


{{การทูตมหาอำนาจ}}
{{การทูตมหาอำนาจ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:48, 1 พฤษภาคม 2565

สนธิสัญญาอึลซา
หน้าลงตรารับรองที่จัดแสดง
วันร่าง9 พฤศจิกายน 1905; 118 ปีก่อน (1905-11-09)
วันลงนาม17 พฤศจิกายน 1905; 118 ปีก่อน (1905-11-17)
ที่ลงนามหอ Jungmyeongjeon, ฮันซ็อง, เกาหลี
วันมีผล17 พฤศจิกายน 1905; 118 ปีก่อน (1905-11-17)
ผู้ลงนาม
สนธิสัญญาอึลซา
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
을사조약
ฮันจา
乙巳條約
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
คันจิ第二次日韓協約
ฮิรางานะだいにじにっかんきょうやく
การถอดเสียง
เฮ็ปเบิร์นปรับปรุงDai-niji nikkan kyōyaku

สนธิสัญญาอึลซา (เกาหลี: 을사조약, อึลซา-โจยัค) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลีฉบับที่สอง (ญี่ปุ่น: 第二次日韓協約โรมาจิDai-niji nikkan kyōyakuทับศัพท์: ได-นิจิ นิกกัน เกียวยากุ) เป็นสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างจักรวรรดิเกาหลีกับจักรวรรดิญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1905 โดยมีการลงนามเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905[1] สนธิสัญญาฉบับนี้ คือการที่เกาหลียินยอมอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นในฐานะรัฐในอารักขา ถือเป็นการรับรองสถานะของกองทหารญี่ปุ่นในเกาหลีให้ถูกต้องตามกฎหมาย ญี่ปุ่นมีอำนาจกำหนดนโยบายต่างประเทศของเกาหลีทั้งหมด แต่การปกครองภายในและนโยบายด้านอื่นยังดำเนินโดยข้าราชการชาวเกาหลี สนธิสัญญาฉบับนี้มีขึ้นภายหลังจากที่ญี่ปุ่นสามารถเอาชนะรัสเซียได้ในสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ที่ยุติไปเมื่อไม่กี่เดือนก่อนหน้า[2]

คำว่า "อึลซา" หรือ "อุลซา" (을사) ในภาษาเกาหลีนั้น มาจากการที่วันลงนามในสนธิสัญญานี้ เกิดขึ้นในปีที่ 42 ตามระบบแผนภูมิสวรรค์[3]

การลงนาม

9 พฤศจิกายน 1905 อิโต ฮิโรบูมิ เดินทางถึงกรุงฮันซอง (กรุงโซล) และเข้าถวายพระราชสาสน์จากจักรพรรดิเมจิจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นแก่จักรพรรดิโกจงแห่งเกาหลี เพื่อต้องการให้จักรพรรดิโกจงลงพระนามในสนธิสัญญา ซึ่งพระองค์ก็ไม่ยิมยอม ต่อมาในวันที่ 15 พฤศจิกายน อิโตได้บัญชาให้กองทหารญี่ปุ่นเข้าล้อมวังหลวงไว้ เพื่อกดดันให้พระองค์ทรงลงพระนาม

17 พฤศจิกายน พลเอก ฮาเซนาวะ โยชิมิชิ ผู้บัญชาการกองทหารรักษาการณ์ประจำเกาหลี พร้อมด้วย อิโต ฮิโรบูมิ และกองทหารญี่ปุ่นส่วนหนึ่ง ได้เข้าไปยังพระที่นั่งจุงเมียงจอน ซึ่งเป็นพระที่นั่งสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่ตั้งอยู่ในพระราชวังด็อกซุกอุง เพื่อเกลี้ยกล่อมให้จักรพรรดิเกาหลีลงพระนามในสนธิสัญญา แต่พระองค์ก็ได้ปฏิเสธ ดังนั้น อิโต จึงบีบบังคับด้วยกำลังทหารให้คณะรัฐมนตรีเกาหลีลงนาม[4] อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีเกาหลี ฮัน กยูซอล ปฏิเสธการลงนามอย่างเสียงดัง อิโตจึงสั่งให้ทหารนำตัวเขาไปขัง และขู่ว่าถ้าเขายังไม่หยุดโวยวายเสียงดังจะสังหารเขา[5] เมื่อเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ จึงมีรัฐมนตรีเกาหลี 5 คนซึ่งเรียกว่า "5 รัฐมนตรี" ยอมลงนาม คือ รัฐมนตรีศึกษาธิการ อี วันยง, รัฐมนตรีกองทัพ อี กวนแท็ก, รัฐมนตรีมหาดไทย อี จียอง, รัฐมนตรีต่างประเทศ พัก เจซุน และ รัฐมนตรีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม กวอน จุงฮยอน โดยที่จักรพรรดิโกจงไม่ได้ทรงร่วมลงพระนาม

ข้อโต้แย้ง

การวิเคราะห์ "สนธิสัญญา ค.ศ. 1905" ของพระเจ้าโคจง

ภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผ่านพ้น จักรพรรดิโกจงได้ทรงส่งราชสาสน์ส่วนพระองค์ไปยังบรรดาประมุขแห่งรัฐของประเทศมหาอำนาจ เพื่อขอแนวร่วมเพื่อต่อต้านการลงนามที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย[6] โดยพระองค์ได้ส่งราชสาสน์ลงตราราชลัญจกรไปยัง 8 ประมุขแห่งรัฐ คือ

  1. พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร
  2. ประธานาธิบดี อาร์ม็อง ฟาลีแยร์ แห่งฝรั่งเศส
  3. จักรพรรดินีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
  4. จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย
  5. พระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี
  6. สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม
  7. จักรพรรดิกวังซวี่แห่งจักรวรรดิชิง
  8. จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี[6]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Korean Mission to the Conference on the Limitation of Armament, Washington, DC, 1921–1922. (1922). Korea's Appeal , p. 35, ที่ Google Books; excerpt, "Alleged Treaty, dated November 17, 1905."
  2. Clare, Israel et al. (1910). Library of universal history and popular science, p. 4732., p. 4732, ที่ Google Books
  3. Kodansha encyclopedia of Japan, Vol 4, 1983, p. 289; "Ulsa is the designation in the sexagenary cycle for the year corresponding to 1905"
  4. McKenzie, F. A. Korea's Fight for Freedom. 1920.
  5. 이토 히로부미는 직접~ :한계옥 (1998년 4월 10일). 〈무력을 앞장 세워 병탄으로〉, 《망언의 뿌리를 찾아서》, 조양욱, 1판 1쇄, 서울: (주)자유포럼, 97~106쪽쪽. ISBN 89-87811-05-0
  6. 6.0 6.1 Lee Hang-bok. "The King's Letter," English JoongAng Daily. September 22, 2009.

บรรณานุกรม

  • Beasley, William G. (1987). Japanese Imperialism, 1894–1945. Oxford: Oxford University Press. ISBN 0198215754 ISBN 9780198215752; ISBN 9780198221685; OCLC 14719443
  • Carnegie Endowment for International Peace, Division of International Law. (1921). Pamphlet 43: Korea, Treaties and Agreements." The Endowment: Washington, D.C. OCLC 1644278
  • Clare, Israel Smith; Hubert Howe Bancroft and George Edwin Rines. (1910). Library of universal history and popular science. New York: The Bancroft society. OCLC 20843036
  • Cordier, Henri and Edouard Chavannes. (1905). "Traité entre le Japon et la Corée," Revue internationale de Sinologie (International Journal of Chinese studies). Leiden: E. J. Brill. OCLC 1767648
  • Duus, Peter (1995). The Abacus and the Sword: The Japanese Penetration of Korea, 1895–1910. Berkeley: University of California Press. ISBN 9780520086142 ISBN 0520086147; ISBN 978-0-520-21361-6; ISBN 0-520-21361-0; OCLC 232346524
  • Korean Mission to the Conference on the Limitation of Armament, Washington, D.C., 1921–1922. (1922). Korea's Appeal to the Conference on Limitation of Armament. Washington: U.S. Government Printing Office. OCLC 12923609
  • Pak, Chʻi-yŏng. (2000). Korea and the United Nations. The Hague: Kluwer Law International. ISBN 9789041113825; OCLC 247402192
  • Tae-Jin, Yi. "Treaties Leading to Japan’s Annexation of Korea: What Are the Problems?." Korea Journal 56.4 (2016): 5-32. online