ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สไมลีย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ไปภาษาอื่นที่มีแล้ว
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}[[Image:Smiley_head_happy.png|right|frame|สไมลีย์ นี้ได้กลับมาเป็นที่นิยมหลายครั้ง แต่รูปร่างลักษณะเด่นก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม]]
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}[[ภาพ:Smiley_head_happy.png|right|frame|สไมลีย์ นี้ได้กลับมาเป็นที่นิยมหลายครั้ง แต่รูปร่างลักษณะเด่นก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม]]


'''สไมลีย์''' (smiley) เป็นรูปวาดคร่าวๆ ใช้แสดงใบหน้าที่กำลังยิ้ม โดยปกติแล้วจะมีสีเหลือง หรือ คนไทยนิยมเรียก อมยิ้ม บางครั้งคำสไมลีย์ ใช้หมายถึง [[อีโมติคอน]] ที่เป็นสัญลักษณ์ ^_^ หรือ :-)
'''สไมลีย์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: smiley) คนไทยนิยมเรียก '''อมยิ้ม''' เป็นรูปวาดคร่าว ๆ ใช้แสดงใบหน้าที่กำลังยิ้ม ปกติจะเป็นสีเหลือง บางครั้งใช้หมายถึง [[อีโมติคอน]] ^_^ หรือ :-)


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
หน้า สไมลีย์ ปกติมีลักษณะกลมแบน ขอบมน เป็นรูปคล้าย กระดุม ลูกอม หรือ อมยิ้ม มีลายเส้นวาดเป็นปากในลักษณะกำลังยิ้ม และ สีดำสองจุดเป็นตา ผู้ที่สร้างสไมลีย์นี้คือ [[ฮาร์วีย์ บอล]] ([[:en:Harvey Ball]]) ในปี ค.ศ.1963 สำหรับ บริษัทประกันชีวิตใน เมือง[[วูสเตอร์]] [[มลรัฐแมสซาชูเซตส์]] ถึงแม้ว่าจะมีความพยายามที่จะใช้เป็นตราเครื่องหมายการค้า แต่สัญลักษณ์นี้ก็ได้แพร่กระจายสู่สาธารณะเสียก่อน
หน้าสไมลีย์ปกติมีลักษณะกลมแบน ขอบมน เป็นรูปคล้าย กระดุม ลูกอม หรือ อมยิ้ม มีลายเส้นวาดเป็นปากในลักษณะกำลังยิ้ม และสีดำสองจุดเป็นตา ผู้สร้างคือ [[ฮาร์วีย์ บอล]] ([[:en:Harvey Ball]]) ในปี [[ค.ศ. 1963]] สำหรับบริษัทประกันชีวิตใน[[วูสเตอร์ (แมสซาชูเซตส์)|เมืองวูสเตอร์]] [[มลรัฐแมสซาชูเซตส์]] ถึงแม้ว่าจะมีความพยายามที่จะใช้มันเป็นเครื่องหมายการค้า แต่สัญลักษณ์นี้ก็ได้แพร่กระจายสู่สาธารณะเสียก่อน


พี่น้อง เมอร์เรย์ และ เบอร์นาด สเปน (Murray and Bernard Spain) ได้ทำให้รูปสไมลีย์นี้เป็นที่นิยม ในช่วงยุคปี 1970 โดยการขาย ทั้งเข็มกลัด ถ้วยกาแฟ เสื้อยืด สติ๊กเกอร์ปะกันชนรถ และสินค้าอื่นๆ ที่มีปรูปสไมลีย์ และข้อความ "Have a happy day" ซึ่งเขียนขึ้นโดย เมอร์เรย์ ในปี ค.ศ.1972 คาดว่ามีเข็มกลัดสไมลีย์นี้กระจายอยู่ทั่วประเทศสหรัฐอเมริการาว 50 ล้านอัน ซึ่งก็เป็นจุดที่ความนิยมเริ่มตกต่ำลง
พี่น้อง เมอร์เรย์ และ เบอร์นาด สเปน (Murray and Bernard Spain) ได้ทำให้รูปสไมลีย์นี้เป็นที่นิยม ในช่วงยุคปี ค.ศ. 1970 โดยการขายทั้งเข็มกลัด ถ้วยกาแฟ เสื้อยืด สติ๊กเกอร์ปะกันชนรถ และสินค้าอื่น ๆ ที่มีรูปสไมลีย์และข้อความ "Have a happy day" (ขอให้มีวันที่มีความสุข) ซึ่งเขียนขึ้นโดยเมอร์เรย์ ในปี ค.ศ. 1972 คาดว่ามีเข็มกลัดสไมลีย์นี้กระจายอยู่ทั่ว[[สหรัฐอเมริกา]]ราว 50 ล้านอัน ซึ่งก็เป็นจุดที่ความนิยมเริ่มตกต่ำลง


รูปสไมลีย์นี้ เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์หลักของ กลุ่มที่นิยมเพลงประเภทที่เรียกว่า "acid house dance music" ในยุคช่วงทศวรรษปี ค.ศ.1980 ในประเทศอังกฤษนั้น รูปสัญลักษณ์นี้ยังใช้ในกลุ่มเต้นรำมั่วสุมใต้ดินที่มั่วยา [[เอ็กซ์ตาซี]] ([[:en:Ecstasy]])
รูปสไมลีย์นี้ เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์หลักของกลุ่มที่นิยมเพลงประเภทที่เรียกว่า "acid house dance music" ในยุคช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 ใน[[อังกฤษ]]นั้น รูปสัญลักษณ์นี้ยังใช้ในกลุ่มเต้นรำมั่วสุมใต้ดินที่มั่วยา[[เอ็กซ์ตาซี]] ([[:en:Ecstasy]])

[[Category:วัฒนธรรม]]


[[Category:คอมพิวเตอร์]]
[[da:Smiley]]
[[da:Smiley]]
[[de:Smiley]]
[[de:Smiley]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:41, 12 มกราคม 2549

สไมลีย์ นี้ได้กลับมาเป็นที่นิยมหลายครั้ง แต่รูปร่างลักษณะเด่นก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

สไมลีย์ (อังกฤษ: smiley) คนไทยนิยมเรียก อมยิ้ม เป็นรูปวาดคร่าว ๆ ใช้แสดงใบหน้าที่กำลังยิ้ม ปกติจะเป็นสีเหลือง บางครั้งใช้หมายถึง อีโมติคอน ^_^ หรือ :-)

ประวัติ

หน้าสไมลีย์ปกติมีลักษณะกลมแบน ขอบมน เป็นรูปคล้าย กระดุม ลูกอม หรือ อมยิ้ม มีลายเส้นวาดเป็นปากในลักษณะกำลังยิ้ม และสีดำสองจุดเป็นตา ผู้สร้างคือ ฮาร์วีย์ บอล (en:Harvey Ball) ในปี ค.ศ. 1963 สำหรับบริษัทประกันชีวิตในเมืองวูสเตอร์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ถึงแม้ว่าจะมีความพยายามที่จะใช้มันเป็นเครื่องหมายการค้า แต่สัญลักษณ์นี้ก็ได้แพร่กระจายสู่สาธารณะเสียก่อน

พี่น้อง เมอร์เรย์ และ เบอร์นาด สเปน (Murray and Bernard Spain) ได้ทำให้รูปสไมลีย์นี้เป็นที่นิยม ในช่วงยุคปี ค.ศ. 1970 โดยการขายทั้งเข็มกลัด ถ้วยกาแฟ เสื้อยืด สติ๊กเกอร์ปะกันชนรถ และสินค้าอื่น ๆ ที่มีรูปสไมลีย์และข้อความ "Have a happy day" (ขอให้มีวันที่มีความสุข) ซึ่งเขียนขึ้นโดยเมอร์เรย์ ในปี ค.ศ. 1972 คาดว่ามีเข็มกลัดสไมลีย์นี้กระจายอยู่ทั่วสหรัฐอเมริการาว 50 ล้านอัน ซึ่งก็เป็นจุดที่ความนิยมเริ่มตกต่ำลง

รูปสไมลีย์นี้ เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์หลักของกลุ่มที่นิยมเพลงประเภทที่เรียกว่า "acid house dance music" ในยุคช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 ในอังกฤษนั้น รูปสัญลักษณ์นี้ยังใช้ในกลุ่มเต้นรำมั่วสุมใต้ดินที่มั่วยาเอ็กซ์ตาซี (en:Ecstasy)