ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8900077 โดย Hamishด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{แปลเพิ่ม|langcode=en|otherarticle=Science|lang=วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ}}
{{วิทยาศาสตร์}}
'''วิทยาศาสตร์''' <ref group="note">คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "[[:en:Science|Science]]" ใน[[ภาษาอังกฤษ]] แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "[[:en:Exact science|Exact science]]" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทาง[[สังคมศาสตร์]]เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์"</ref> หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวล[[ความรู้เชิงประจักษ์]] ที่เรียกว่า[[กระบวนการทางวิทยาศาสตร์]] และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น [[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]] และ [[วิทยาศาสตร์ประยุกต์]] คำว่า science ใน[[ภาษาอังกฤษ]] ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจาก[[ภาษาลาติน]] คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้
<!--
หนังสือโบราณเกี่ยวกับศัลยกรรมชื่อ [[บันทึกโบราณ21612เอ็ดวิน สมิท]] (Edwin Smith Papyrus) (สมัย 1600 BC) อธิบายขั้นตอนอันละเอียดของของการสืบเสาะ (''การระบุลักษณะเฉพาะ'') การวินิจฉัย (''การตั้งสมมติฐาน'') การปฏิบัติ (''การทดลอง'') และนำผลไปใช้ในการทำนาย (''การทบทวน'') นอกจากนี้แม้ว่า[[บันทึกโบราณอีเบอร์ส]] (Ebers papyrus) (สมัย 1550 BC) จะเต็มไปด้วยเรื่องราวของการขับไล่ภูติผี เพื่อบำบัดการเจ็บป่วย ในนั้นก็ยังมีหลักฐานของ ''ประวัติที่ยาวนานของแนวทางปฏิบัติที่มีการทดลองและการสังเกต''

ในการประกาศ 'ระเบียบวิธี' ของ[[โรเจอร์ เบคอน]]ในยุค[[คริสต์ศตวรรษที่ 13]] เขาได้แรงบันดาลใจมาจากงานเขียนของ[[การแปรธาตุ|นักเล่นแร่แปรธาตุ]] ชาว[[อาหรับ]] ที่ได้นำวิธีการ[[การให้เหตุผลแบบอุปนัย|อุปนัย]]ที่อธิบายไว้โดย[[อริสโตเติล]]มาใช้และพัฒนาต่อ เบคอนได้อธิบายขั้นตอนที่กระทำซ้ำ ๆ กันของ ''การสังเกต'' ''การตั้งสมมติฐาน'' ''การทดลอง'' และความจำเป็นของ ''การตรวจสอบ'' ที่เป็นอิสระ -->
ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] [[ฟรานซิส เบคอน]]ได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการ[[อุปนัย]] เพื่อนำมาใช้สร้าง[[ทฤษฎี]]หรือ[[กฎ]]ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่[[การทดลอง|ทดลอง]]หรือ[[การสังเกต|สังเกต]]ได้จากธรรมชาติ
เป็นผู้รื้อถอนและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดติดกับแนวความคิดของ[[อริสโตเติล]]ทิ้งไป.
ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
* ''ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้'' เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่อง[[แรงโน้มถ่วง]]นั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?" แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?"
* ''ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์'' (ดูหัวข้อ [[#คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์|คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์]])

ในเวลาต่อมา [[ไอแซก นิวตัน]]ได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์

ก่อนหน้านั้น, ในปี [[ค.ศ. 1619]] [[เรอเน เดส์การตส์]] ได้เริ่มเขียน[[ความเรียง]]เรื่อง ''[[Rules for the Direction of the Mind]]'' (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ). โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับ[[วิทยาศาสตร์สมัยใหม่]]และ[[ปรัชญาสมัยใหม่]]. อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่[[กาลิเลโอ กาลิเลอี|กาลิเลโอ]] ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย
[[โป๊ป]]แห่ง[[กรุงโรม]] ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น

การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับ[[ปัญหาของการอุปนัย]] ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์. [[เดวิด ฮูม]]ได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด [[คาร์ล พอพเพอร์]]ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่น ๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้อง[[การทำให้เป็นเท็จได้|ทำให้เป็นเท็จได้]] (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้

ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก ''แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ'' จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "[[วิทยาศาสตร์เทียม]]" {{อ้างอิง}}

== ปรัชญาวิทยาศาสตร์ ==
== ปรัชญาวิทยาศาสตร์ ==



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:35, 10 กรกฎาคม 2563

ปรัชญาวิทยาศาสตร์

ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของวิทยาศาสตร์ในประวัติศาสตร์มนุษย์ ได้สร้างประเด็นคำถามทางปรัชญาไว้มากมาย. โดยนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ได้ตั้งคำถามทางปรัชญาที่สำคัญดังนี้

  • สิ่งใดเป็นตัวแบ่งแยกความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับความรู้ประเภทอื่น ๆ เช่น โหราศาสตร์
  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความจริงหรือไม่
  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชื่อถือได้แค่ไหน
  • วิทยาศาสตร์มีประโยชน์จริง ๆ หรือไม่
  • ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสม คือรูปแบบใด

ประเด็นเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์อย่างมากในปัจจุบัน และไม่มีความเห็นใดที่ได้รับการยอมรับทั่วไปอีกเลยทีเดียว

สาขาของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

ฟิสิกส์

เคมี

ชีววิทยา


วิทยาศาสตร์ประยุกต์

วิศวกรรมศาสตร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Science)

หมายเหตุ...


ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Feynman Richard. The Feynman Lecture Notes on Physics. Addison-wesley, 1971.
  2. Morris Kilne. Mathematics for the Non-mathematician. Dover Publication, 1985.

แหล่งข้อมูลอื่น

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมในภาษาอื่น