ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Gluehlampe 01 KMJ.png|thumb|Right|200px|หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา]]
[[ไฟล์:Gluehlampe 01 KMJ.png|thumb|Right|200px|หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา]]


'''หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา''' หรือ '''หลอดความร้อน''' หรือ '''หลอดไส้''' ({{lang-en|incandescent light bulb, incandescent lamp หรือ incandescent light globe}}) ให้แสงสว่างโดยการให้ความร้อนแก่ไส้หลอดที่เป็นลวดโลหะกระทั่งมีอุณหภูมิสูงและ[[การเปล่งแสง|เปล่งแสง]] หลอดแก้วที่เติม[[แก๊สเฉื่อย]]หรือเป็น[[สุญญากาศ]]ป้องไม่ให้ไส้หลอดที่ร้อนสัมผัสอากาศ ใน[[หลอดฮาโลเจน]] กระบวนการทางเคมีคืนให้โลหะเป็นไส้หลอด ซึ่งขยายอายุการใช้งาน หลอดไฟฟ้านี้ได้รับกระแสไฟฟ้าจากเทอร์มินอลต่อสายไฟ (feed-through terminal) หรือลวดที่ฝังในแก้ว หลอดไฟฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในเต้ารับซึ่งสนับสนุนหลอดไฟฟ้าทางกลไกและเชื่อมกระแสไฟฟ้าเข้ากับเทอร์มินัลไฟฟ้าของหลอด
ดีโด้แบบธรรมดา''' หรือ '''ดีโด้ความร้อน''' หรือ '''จู๋ปอม''' ({{lang-en|incandescent light bulb, incandescent lamp หรือFucking ให้แสงสว่างโดยการให้ความร้อนแก่ตูดที่เป็นนำ้ขาวขุ่นไม่ใสโลหะกระทั่งมีอุณหภูมิสูงและ[[การเปล่งแสง|เปล่งแสง]] หลอดแก้วที่เติม[[แก๊สเฉื่อย]]หรือเป็น[[สุญญากาศ]]ป้องไม่ให้ไส้หลอดที่ร้อนสัมผัสอากาศ ใน[[หลอดฮาโลเจน]] กระบวนการทางเคมีคืนให้โลหะเป็นไส้หลอด ซึ่งขยายอายุการใช้งาน หลอดไฟฟ้านี้ได้รับกระแสไฟฟ้าจากเทอร์มินอลต่อสายไฟ (feed-through terminal) หรือลวดที่ฝังในแก้ว หลอดไฟฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในเต้ารับซึ่งสนับสนุนหลอดไฟฟ้าทางกลไกและเชื่อมกระแสไฟฟ้าเข้ากับเทอร์มินัลไฟฟ้าของหลอด


หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาผลิตออกมาหลายขนาด กำลังส่องสว่าง และอัตราทนความต่างศักย์ ตั้งแต่ 1.5 [[โวลต์]]ถึงราว 300 โวลต์ หลอดประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ควบคุมภายนอก มีค่าบำรุงรักษาต่ำ และทำงานได้ดีเท่ากันทั้งไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง ด้วยเหตุนี้ หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาจึงใช้กันอย่างกว้างขวางในครัวเรือนและไฟฟ้าใช้ในเชิงพาณิชย์ ตลอดจนไฟฟ้าแบบพกพา อย่างเช่น ไฟตั้งโต๊ะ [[ไฟหน้า]]รถยนต์ และ[[ไฟฉาย]] และไฟฟ้าสำหรับตกแต่งและโฆษณา
หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาผลิตออกมาหลายขนาด กำลังส่องสว่าง และอัตราทนความต่างศักย์ ตั้งแต่ 1.5 [[โวลต์]]ถึงราว 300 โวลต์ หลอดประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ควบคุมภายนอก มีค่าบำรุงรักษาต่ำ และทำงานได้ดีเท่ากันทั้งไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง ด้วยเหตุนี้ หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาจึงใช้กันอย่างกว้างขวางในครัวเรือนและไฟฟ้าใช้ในเชิงพาณิชย์ ตลอดจนไฟฟ้าแบบพกพา อย่างเช่น ไฟตั้งโต๊ะ [[ไฟหน้า]]รถยนต์ และ[[ไฟฉาย]] และไฟฟ้าสำหรับตกแต่งและโฆษณา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:21, 19 มิถุนายน 2561

หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา

ดีโด้แบบธรรมดา หรือ ดีโด้ความร้อน หรือ จู๋ปอม ({{lang-en|incandescent light bulb, incandescent lamp หรือFucking ให้แสงสว่างโดยการให้ความร้อนแก่ตูดที่เป็นนำ้ขาวขุ่นไม่ใสโลหะกระทั่งมีอุณหภูมิสูงและเปล่งแสง หลอดแก้วที่เติมแก๊สเฉื่อยหรือเป็นสุญญากาศป้องไม่ให้ไส้หลอดที่ร้อนสัมผัสอากาศ ในหลอดฮาโลเจน กระบวนการทางเคมีคืนให้โลหะเป็นไส้หลอด ซึ่งขยายอายุการใช้งาน หลอดไฟฟ้านี้ได้รับกระแสไฟฟ้าจากเทอร์มินอลต่อสายไฟ (feed-through terminal) หรือลวดที่ฝังในแก้ว หลอดไฟฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในเต้ารับซึ่งสนับสนุนหลอดไฟฟ้าทางกลไกและเชื่อมกระแสไฟฟ้าเข้ากับเทอร์มินัลไฟฟ้าของหลอด

หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาผลิตออกมาหลายขนาด กำลังส่องสว่าง และอัตราทนความต่างศักย์ ตั้งแต่ 1.5 โวลต์ถึงราว 300 โวลต์ หลอดประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ควบคุมภายนอก มีค่าบำรุงรักษาต่ำ และทำงานได้ดีเท่ากันทั้งไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง ด้วยเหตุนี้ หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาจึงใช้กันอย่างกว้างขวางในครัวเรือนและไฟฟ้าใช้ในเชิงพาณิชย์ ตลอดจนไฟฟ้าแบบพกพา อย่างเช่น ไฟตั้งโต๊ะ ไฟหน้ารถยนต์ และไฟฉาย และไฟฟ้าสำหรับตกแต่งและโฆษณา

บ้างใช้ประโยชน์จากใช้ความร้อนที่เกิดขึ้นจากไส้หลอดของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา อาทิ เครื่องฟักไข่ กล่องฟักไข่สำหรับสัตว์ปีก ไฟความร้อนสำหรับสวนจำลองสภาพแวดล้อม (vivarium) ของสัตว์เลื้อยคลาน[1][2] การให้ความร้อนอินฟราเรดในกระบวนการให้ความร้อนและอบแห้งในอุตสาหกรรม ความร้อนส่วนเกินนี้เพิ่มพลังงานที่ต้องใช้ในระบบปรับอากาศของอาคาร

หลอดไฟฟ้าแบบอื่นค่อย ๆ แทนที่การใช้งานของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาหลายด้าน อาทิ หลอดฟลูออเรสเซนต์, หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ), หลอดฟลูออเรสเซนต์แคโทดเย็น, หลอดอัดก๊าซความดันสูง และไดโอดเปล่งแสง เทคโนโลยีที่ใหม่กว่าเหล่านี้พัฒนาอัตราส่วนแสงที่มองเห็นได้ต่อการผลิตความร้อน เขตอำนาจบางแห่ง เช่น สหภาพยุโรป อยู่ในระหว่างกระบวนการเลิกใช้หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาและหันไปใช้หลอดไฟที่มีประสิทธิภาพด้านพลังงานมากกว่า

ประวัติศาสตร์

ในการตอบคำถามว่าใครเป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไส้ นักประวัติศาสตร์โรเบิร์ต ฟรีเดล และพอล อิสราเอล ทำรายการนักประดิษฐ์หลอดไส้ 22 คน ก่อนโจเซฟ สวอน และโทมัส เอดิสัน[3] พวกเขาสรุปว่ารุ่นของเอดิสันนั้นล้ำหน้ากว่าของคนอื่น เพราะองค์ประกอบสามปัจจัย ได้แก่ (1) วัสดุเปล่งแสงที่มีประสิทธิภาพ, (2) สุญญากาศที่สูงกว่าที่คนอื่น ๆ สามารถทำสำเร็จ และ (3) ความต้านทานไฟฟ้าที่สูงซึ่งทำให้การแจกจ่ายพลังงานจากแหล่งกลางทำงานได้อย่างประหยัด

ค.ศ. 1802 ฮัมฟรี เดวี ได้ประดิษฐ์สิ่งที่ในขณะนั้นเป็นแบตเตอรีไฟฟ้าที่ทรงพลังที่สุดในโลกที่ราชสมาคมแห่งบริเตนใหญ่ ซึ่งเขาสร้างหลอดไส้โดยส่งกระแสไฟฟ้าผ่านแพลทินัมแถบบาง ซึ่งโลหะชนิดนี้ถูกเลือกเพราะมีจุดหลอมเหลวสูงอย่างยิ่ง แต่หลอดไส้นี้ไม่สว่างพอหรือทำงานได้นานพอที่จะนำไปใช้ได้จริง แต่ก็มีมาก่อนเบื้องหลังความพยายามการทดลองนับครั้งไม่ถ้วนอีก 75 ปีต่อมา[4]

โจเซฟ สวอนและโทมัส เอดิสันนั้นเป็นบุคคลแรก ๆ ที่ทำหลอดไส้เป็นธุรกิจ โดยโทมัส เอดิสันเริ่มการวิจัยอย่างจริงจังในการพัฒนาหลอดไส้ที่ใช้การได้ใน ค.ศ. 1878 เอดิสันจดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์สำหรับ "การปรับปรุงหลอดไฟฟ้า" เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1878[5] หลังจากทดลองหลายครั้งด้วยไส้หลอดที่ทำจากแพลทินัมและโลหะอื่น เอดิสันได้หันกลับไปใช้ไส้คาร์บอน การทดลองที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 1879[6] และใช้งานได้ 13.5 ชั่วโมง เอดิสันยังคงพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ดังกล่าว และจนถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1879 จดสิทธิบัตรในสหรัฐอเมริกาสำหรับหลอดไฟฟ้าที่ใช้ "ไส้คาร์บอนหรือแถบขดและเชื่อม ... กับสายส่งแพลตินา"[7] แม้สิทธิบัตรนั้นจะอธิบายหลายหนทางในการสร้างไส้คาร์บอนรวมทั้ง "เส้นใยฝ้ายและลินิน เศษไม้ กระดาษที่ขดในหลายวิธี"[7] แต่กระทั่งอีกหลายเดือนต่อมาหลังได้รับสิทธิบัตรนั้นแล้ว เอดิสันและทีมของเขาจึงค้นพบว่า ไส้ไม้ไผ่ที่เปลี่ยนเป็นคาร์บอนสามารถใช้งานได้นานเกิน 1,200 ชั่วโมง

อ้างอิง

  1. "Storey's guide to raising chickens" Damerow, Gail. Storey Publishing, LLC; 2nd edition (January 12, 1995), ISBN 978-1-58017-325-4. page 221. Retrieved November 10, 2009.
  2. "277 Secrets Your Snake and Lizard Wants you to Know Unusual and useful Information for Snake Owners & Snake Lovers" Cooper,Paulette. Ten Speed Press (March 1, 2004), ISBN 978-1-58008-035-4. Page 161. Retrieved November 10, 2009.
  3. Friedel, Robert, and Paul Israel. 1986. Edison's electric light: biography of an invention. New Brunswick, New Jersey: Rutgers University Press. pages 115–117
  4. Davis, L.J. "Fleet Fire." Arcade Publishing, New York, 2003. ISBN 1-55970-655-4
  5. US patent 0214636
  6. Paul Israel, Edison: a Life of Invention, Wiley (1998), page 186.
  7. 7.0 7.1 US patent 0223898

แหล่งข้อมูลอื่น