ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนรัชดาภิเษก"

พิกัด: 13°47′33″N 100°34′27″E / 13.792556°N 100.574194°E / 13.792556; 100.574194
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สร้างขึ้นตามกระแสพระราชดำริใน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ที่พระราชทานเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อ [[พ.ศ. 2514]] [[จอมพล ถนอม กิตติขจร]] [[นายกรัฐมนตรี]]ในขณะนั้น ได้เข้าเฝ้าเพื่อกราบบังคมทูลเรื่อง[[พระราชพิธีรัชดาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๑๔|พระราชพิธีรัชดาภิเษก]] (Silver Jubilee) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำรัสเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรเป็นครั้งแรก โดยมีพระราชประสงค์ให้สร้างถนนเพิ่มขึ้นเป็นถนนวงแหวนเพื่อพระราชทานเป็นของขวัญแก่ประชาชนแทนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก<ref>[http://203.155.220.239/yota/king%20proj/king1.htm โครงการก่อสร้างถนนวงแหวนรัชดาภิเษก]</ref> คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ [[16 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2514]] ให้จัดสร้างถนนวงรอบขึ้นน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ในวโรกาส[[พระราชพิธีรัชดาภิเษก]] ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 25 ปี ในวันที่ [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2514]] โดยรัฐบาลได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อถนนวงรอบว่า "ถนนรัชดาภิเษก" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างถนนรัชดาภิเษก ณ บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุงเมื่อวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2514]] บริเวณแนวถนนตัดจากสะพานกรุงเทพผ่านถนนเจริญกรุงและต่อเชื่อมจนครบวงแหวน ปัจจุบันถือเป็นถนนวงแหวนรอบใน โดยมี[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9) เป็นถนนวงแหวนรอบนอก ถนนวงแหวนรอบในส่วนที่ 1 เริ่มจากทางแยกท่าพระถึงถนนเพชรบุรี ส่วนที่ 2 จากถนนพระรามที่ 4 ถึงทางแยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร และมีพิธีเปิดถนนรัชดาภิเษกใน [[พ.ศ. 2519]]
ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สร้างขึ้นตามกระแสพระราชดำริใน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ที่พระราชทานเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อ [[พ.ศ. 2514]] [[จอมพล ถนอม กิตติขจร]] [[นายกรัฐมนตรี]]ในขณะนั้น ได้เข้าเฝ้าเพื่อกราบบังคมทูลเรื่อง[[พระราชพิธีรัชดาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๑๔|พระราชพิธีรัชดาภิเษก]] (Silver Jubilee) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำรัสเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรเป็นครั้งแรก โดยมีพระราชประสงค์ให้สร้างถนนเพิ่มขึ้นเป็นถนนวงแหวนเพื่อพระราชทานเป็นของขวัญแก่ประชาชนแทนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก<ref>[http://203.155.220.239/yota/king%20proj/king1.htm โครงการก่อสร้างถนนวงแหวนรัชดาภิเษก]</ref> คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ [[16 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2514]] ให้จัดสร้างถนนวงรอบขึ้นน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 25 ปี ในวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2514]] โดยรัฐบาลได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อถนนวงรอบว่า "ถนนรัชดาภิเษก" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างถนนรัชดาภิเษก ณ บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุงเมื่อวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2514]] บริเวณแนวถนนตัดจากสะพานกรุงเทพผ่านถนนเจริญกรุงและต่อเชื่อมจนครบวงแหวน ปัจจุบันถือเป็นถนนวงแหวนรอบใน โดยมี[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9) เป็นถนนวงแหวนรอบนอก ถนนวงแหวนรอบในส่วนที่ 1 เริ่มจากทางแยกท่าพระถึงถนนเพชรบุรี ส่วนที่ 2 จากถนนพระรามที่ 4 ถึงทางแยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร และมีพิธีเปิดถนนรัชดาภิเษกใน [[พ.ศ. 2519]]


ถนนวงแหวนรอบในรัชดาภิเษกนั้นมิได้สร้างใหม่ขึ้นทั้งหมด บางช่วงเป็นถนนและซอยที่มีอยู่แต่เดิม ได้แก่ [[ถนนวงศ์สว่าง]] (ช่วง[[สะพานพระราม 7]] ถึงทางแยกวงศ์สว่าง), [[ซอยอโศก-ดินแดง]] (ช่วงทางแยกพระราม 9 ถึงทางแยกอโศก-ถนนเพชรบุรีตัดใหม่), [[ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)]] (ช่วงถนนสุขุมวิททางแยกอโศก-ถนนเพชรบุรีตัดใหม่), ถนนนางลิ้นจี่ตอนปลายหรือถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา (ช่วงทางแยกสาธุประดิษฐ์ถึงแยกถนนนางลิ้นจี่), [[ถนนมไหสวรรย์]] (ช่วงทางแยกถนนตกถึงทางแยกมไหสวรรย์) และ[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] (ช่วงทางแยกท่าพระถึง[[สะพานพระราม 6]])
ถนนวงแหวนรอบในรัชดาภิเษกนั้นมิได้สร้างใหม่ขึ้นทั้งหมด บางช่วงเป็นถนนและซอยที่มีอยู่แต่เดิม ได้แก่ [[ถนนวงศ์สว่าง]] (ช่วง[[สะพานพระราม 7]] ถึงทางแยกวงศ์สว่าง), [[ถนนอโศก-ดินแดง|ซอยอโศก-ดินแดง]] (ช่วงทางแยกพระราม 9 ถึงทางแยกอโศก-ถนนเพชรบุรีตัดใหม่), [[ถนนอโศกมนตรี|ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)]] (ช่วงถนนสุขุมวิททางแยกอโศก-ถนนเพชรบุรีตัดใหม่), ถนนนางลิ้นจี่ตอนปลายหรือถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา (ช่วงทางแยกสาธุประดิษฐ์ถึงแยกถนนนางลิ้นจี่), [[ถนนมไหสวรรย์]] (ช่วงทางแยกถนนตกถึงทาง[[แยกมไหสวรรย์]]) และ[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] (ช่วงทางแยกท่าพระถึง[[สะพานพระราม 6]])


เมื่อมีการโครงการตัดถนนรัชดาภิเษกจึงเวรคืนที่ดินเพื่อตัดถนนเชื่อมเข้าหากัน เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วถนนบางช่วงใช้ชื่อว่าถนนรัชดาภิเษกแต่บางช่วงยังใช้ชื่อถนนตามเดิม ดังนี้ [[ถนนวงศ์สว่าง]] (ช่วง[[สะพานพระราม 7]] ถึงทางแยกวงศ์สว่าง), [[ถนนรัชดาภิเษก]] (ช่วงทางแยกวงศ์สว่างถึงทางแยกพระราม 9), [[ถนนอโศก-ดินแดง]] (ช่วงทางแยกพระราม 9 ถึงทางแยกอโศก-เพชรบุรี), [[ถนนอโศกมนตรี]] (ช่วงทางแยกอโศกมนตรีถึงทางแยกอโศก-เพชรบุรี), [[ถนนรัชดาภิเษก]] (ช่วงทางแยกอโศกมนตรี-ทางแยกท่าพระ) และ[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] (ช่วงทางแยกท่าพระถึง[[สะพานพระราม 6]])
เมื่อมีการโครงการตัดถนนรัชดาภิเษกจึงเวนคืนที่ดินเพื่อตัดถนนเชื่อมเข้าหากัน เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วถนนบางช่วงใช้ชื่อว่าถนนรัชดาภิเษกแต่บางช่วงยังใช้ชื่อถนนตามเดิม ดังนี้ [[ถนนวงศ์สว่าง]] (ช่วง[[สะพานพระราม 7]] ถึงทางแยกวงศ์สว่าง), ถนนรัชดาภิเษก (ช่วงทางแยกวงศ์สว่างถึงทางแยกพระราม 9), [[ถนนอโศก-ดินแดง]] (ช่วงทางแยกพระราม 9 ถึงทางแยกอโศก-เพชรบุรี), [[ถนนอโศกมนตรี]] (ช่วงทางแยกอโศกมนตรีถึงทางแยกอโศก-เพชรบุรี), ถนนรัชดาภิเษก (ช่วงทางแยกอโศกมนตรี-ทางแยกท่าพระ) และ[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] (ช่วงทางแยกท่าพระถึง[[สะพานพระราม 6]])


ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 รัฐบาลในขณะนั้นมีนโยบายต้องการสร้างถนนเศรษฐกิจสายใหม่ทดแทน ถนนสีลมซึ่งแออัดและการจราจรติดขัด จึงมองหาทำเลที่ตั้งใหม่ ซึ่งได้ลงตัวที่ถนนรัชดาภิเษก ช่วงตั้งแต่ทางแยกถนนตกจนถึงทางแยก ณ ระนอง โดยได้จัดตั้งเป็นถนนเศรษฐกิจสายใหม่ตามนโยบายของรัฐบาล โดยใช้ชื่อว่า [[ถนนพระรามที่ 3]] ซึ่งรัฐบาลได้ลงทุนโครงสร้างพิ้นฐานของถนนพระราม 3 โดยขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจรไป-กลับ และขุดคลองกลางถนนให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 รัฐบาลในขณะนั้นมีนโยบายต้องการสร้างถนนเศรษฐกิจสายใหม่ทดแทน[[ถนนสีลม]]ซึ่งแออัดและการจราจรติดขัด จึงมองหาทำเลที่ตั้งใหม่ ซึ่งได้ลงตัวที่ถนนรัชดาภิเษก ช่วงตั้งแต่ทางแยกถนนตกจนถึงทางแยก ณ ระนอง โดยได้จัดตั้งเป็นถนนเศรษฐกิจสายใหม่ตามนโยบายของรัฐบาล ใช้ชื่อว่า [[ถนนพระรามที่ 3]] ซึ่งรัฐบาลได้ลงทุนโครงสร้างพิ้นฐานของถนนพระราม 3 โดยขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจรไป-กลับ และขุดคลองกลางถนนให้มีขนาดใหญ่ขึ้น


นอกจากนี้ถนนรัชดาภิเษกยังมีถนนอีกส่วนหนึ่ง เชื่อมระหว่างทางแยกพระรามที่ 3-รัชดา (ช่วงใกล้เชิง[[สะพานพระราม 9]]) กับทางแยกพระรามที่ 3-รัชดา (ช่วง[[โรงเรียนนนทรีวิทยา]]) ถนนนี้เกิดขึ้นจากสร้าง[[ทางพิเศษเฉลิมมหานคร]]หรือทางด่วนขั้นที่ 1 ได้สร้างถนนด้านใต้ทางยกระดับเพื่อลดระยะทางของ[[ถนนพระรามที่ 3]] ซึ่งอ้อมโค้งตาม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ลดระยะทางได้ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นถนนเลียบใต้ทางด่วน มีทางขึ้นลง[[ทางพิเศษเฉลิมมหานคร]]
นอกจากนี้ถนนรัชดาภิเษกยังมีถนนอีกส่วนหนึ่ง เชื่อมระหว่างทางแยกพระรามที่ 3-รัชดา (ช่วงใกล้เชิง[[สะพานพระราม 9]]) กับทางแยกพระรามที่ 3-รัชดา (ช่วง[[โรงเรียนนนทรีวิทยา]]) ถนนนี้เกิดขึ้นจากสร้าง[[ทางพิเศษเฉลิมมหานคร]]หรือทางด่วนขั้นที่ 1 ได้สร้างถนนด้านใต้ทางยกระดับเพื่อลดระยะทางของ[[ถนนพระรามที่ 3]] ซึ่งอ้อมโค้งตาม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ลดระยะทางได้ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นถนนเลียบใต้ทางด่วน มีทางขึ้นลง[[ทางพิเศษเฉลิมมหานคร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:14, 25 กันยายน 2560

ถนนรัชดาภิเษก
ถนนรัชดาภิเษกที่ทางแยกอโศกมนตรี
ข้อมูลของเส้นทาง
ความยาว45 กิโลเมตร (28 ไมล์)
มีขึ้นเมื่อพ.ศ. 2519–ปัจจุบัน

ถนนรัชดาภิเษก (อักษรโรมัน: Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพระ

ประวัติ

ถนนรัชดาภิเษกเป็นถนนที่สร้างขึ้นตามกระแสพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2514 จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้เข้าเฝ้าเพื่อกราบบังคมทูลเรื่องพระราชพิธีรัชดาภิเษก (Silver Jubilee) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำรัสเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรเป็นครั้งแรก โดยมีพระราชประสงค์ให้สร้างถนนเพิ่มขึ้นเป็นถนนวงแหวนเพื่อพระราชทานเป็นของขวัญแก่ประชาชนแทนการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก[1] คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2514 ให้จัดสร้างถนนวงรอบขึ้นน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 25 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2514 โดยรัฐบาลได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อถนนวงรอบว่า "ถนนรัชดาภิเษก" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างถนนรัชดาภิเษก ณ บริเวณเชิงสะพานกรุงเทพตัดกับถนนเจริญกรุงเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2514 บริเวณแนวถนนตัดจากสะพานกรุงเทพผ่านถนนเจริญกรุงและต่อเชื่อมจนครบวงแหวน ปัจจุบันถือเป็นถนนวงแหวนรอบใน โดยมีถนนกาญจนาภิเษก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9) เป็นถนนวงแหวนรอบนอก ถนนวงแหวนรอบในส่วนที่ 1 เริ่มจากทางแยกท่าพระถึงถนนเพชรบุรี ส่วนที่ 2 จากถนนพระรามที่ 4 ถึงทางแยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร และมีพิธีเปิดถนนรัชดาภิเษกใน พ.ศ. 2519

ถนนวงแหวนรอบในรัชดาภิเษกนั้นมิได้สร้างใหม่ขึ้นทั้งหมด บางช่วงเป็นถนนและซอยที่มีอยู่แต่เดิม ได้แก่ ถนนวงศ์สว่าง (ช่วงสะพานพระราม 7 ถึงทางแยกวงศ์สว่าง), ซอยอโศก-ดินแดง (ช่วงทางแยกพระราม 9 ถึงทางแยกอโศก-ถนนเพชรบุรีตัดใหม่), ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก) (ช่วงถนนสุขุมวิททางแยกอโศก-ถนนเพชรบุรีตัดใหม่), ถนนนางลิ้นจี่ตอนปลายหรือถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา (ช่วงทางแยกสาธุประดิษฐ์ถึงแยกถนนนางลิ้นจี่), ถนนมไหสวรรย์ (ช่วงทางแยกถนนตกถึงทางแยกมไหสวรรย์) และถนนจรัญสนิทวงศ์ (ช่วงทางแยกท่าพระถึงสะพานพระราม 6)

เมื่อมีการโครงการตัดถนนรัชดาภิเษกจึงเวนคืนที่ดินเพื่อตัดถนนเชื่อมเข้าหากัน เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วถนนบางช่วงใช้ชื่อว่าถนนรัชดาภิเษกแต่บางช่วงยังใช้ชื่อถนนตามเดิม ดังนี้ ถนนวงศ์สว่าง (ช่วงสะพานพระราม 7 ถึงทางแยกวงศ์สว่าง), ถนนรัชดาภิเษก (ช่วงทางแยกวงศ์สว่างถึงทางแยกพระราม 9), ถนนอโศก-ดินแดง (ช่วงทางแยกพระราม 9 ถึงทางแยกอโศก-เพชรบุรี), ถนนอโศกมนตรี (ช่วงทางแยกอโศกมนตรีถึงทางแยกอโศก-เพชรบุรี), ถนนรัชดาภิเษก (ช่วงทางแยกอโศกมนตรี-ทางแยกท่าพระ) และถนนจรัญสนิทวงศ์ (ช่วงทางแยกท่าพระถึงสะพานพระราม 6)

ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 รัฐบาลในขณะนั้นมีนโยบายต้องการสร้างถนนเศรษฐกิจสายใหม่ทดแทนถนนสีลมซึ่งแออัดและการจราจรติดขัด จึงมองหาทำเลที่ตั้งใหม่ ซึ่งได้ลงตัวที่ถนนรัชดาภิเษก ช่วงตั้งแต่ทางแยกถนนตกจนถึงทางแยก ณ ระนอง โดยได้จัดตั้งเป็นถนนเศรษฐกิจสายใหม่ตามนโยบายของรัฐบาล ใช้ชื่อว่า ถนนพระรามที่ 3 ซึ่งรัฐบาลได้ลงทุนโครงสร้างพิ้นฐานของถนนพระราม 3 โดยขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจรไป-กลับ และขุดคลองกลางถนนให้มีขนาดใหญ่ขึ้น

นอกจากนี้ถนนรัชดาภิเษกยังมีถนนอีกส่วนหนึ่ง เชื่อมระหว่างทางแยกพระรามที่ 3-รัชดา (ช่วงใกล้เชิงสะพานพระราม 9) กับทางแยกพระรามที่ 3-รัชดา (ช่วงโรงเรียนนนทรีวิทยา) ถนนนี้เกิดขึ้นจากสร้างทางพิเศษเฉลิมมหานครหรือทางด่วนขั้นที่ 1 ได้สร้างถนนด้านใต้ทางยกระดับเพื่อลดระยะทางของถนนพระรามที่ 3 ซึ่งอ้อมโค้งตามแม่น้ำเจ้าพระยา ลดระยะทางได้ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นถนนเลียบใต้ทางด่วน มีทางขึ้นลงทางพิเศษเฉลิมมหานคร

อนึ่ง ถนนรัชดาภิเษก (ช่วงตั้งแต่สะพานคลองน้ำแก้วถึงทางแยกพระราม 9) เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตดินแดงกับเขตห้วยขวาง

สถานที่สำคัญที่ถนนตัดผ่าน

ถนนรัชดาภิเษก ช่วงเดอะมอลล์ ท่าพระ
  1. สำนักงานอัยการสูงสุด
  2. ศาลแพ่ง ศาลอาญา และศาลอุทธรณ์
  3. ศาลแขวงพระนครเหนือ
  4. ศาลภาษีอากรกลาง
  5. สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
  6. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
  7. ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
  8. สถานเอกอัครราชทูตจีน
  9. สถานเอกอัครราชทูตสเปน
  10. สวนเบญจกิติ
  11. ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
  12. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  13. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  14. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา
  15. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่
  16. สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ลาดพร้าว รัชดาภิเษก สุทธิสาร ห้วยขวาง ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พระราม 9 และ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°47′33″N 100°34′27″E / 13.792556°N 100.574194°E / 13.792556; 100.574194