พิพิธภัณฑ์ศิลปะอิสลาม มาเลเซีย

พิกัด: 3°08′31″N 101°41′23″E / 3.1419°N 101.6898°E / 3.1419; 101.6898
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พิพิธภัณฑ์ศิลปะอิสลาม มาเลเซีย
Muzium Kesenian Islam Malaysia
ด้านหน้าของอาคารพิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์ศิลปะอิสลาม มาเลเซียตั้งอยู่ในกัวลาลัมเปอร์
พิพิธภัณฑ์ศิลปะอิสลาม มาเลเซีย
ที่ตั้งในกัวลาลัมเปอร์
ก่อตั้ง1998
ที่ตั้งถนนเลมบาห์เปอร์เดนา (Jalan Lembah Perdana) กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
พิกัดภูมิศาสตร์3°08′31″N 101°41′23″E / 3.1419°N 101.6898°E / 3.1419; 101.6898
ประเภทพิพิธภัณฑ์
ผู้อำนวยการSyed Mohamad Albukhary[1]
ขนส่งมวลชนสถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์ (เคทีเอ็ม)
เว็บไซต์www.iamm.org.my

พิพิธภัณฑ์ศิลปะอิสลาม มาเลเซีย (มลายู: Muzium Kesenian Islam Malaysia; Islamic Arts Museum Malaysia) เป็นพิพิธภัณฑ์ในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เปิดเป็นทางการในวันที่ 12 สิงหาคม 1998 เป็นพิพิธภัณฑ์ด้านศิลปะอิสลามที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พิพิธภัณฑ์มีของสะสมจำนวนเจ็ดพันชิ้นจากโลกอิสลาม.[2]

พิพิธภัณฑ์ประกอบด้วยพื้นที่จัดแสดงสิบสองห้อง สองชั้น ชั้นหนึ่งของพิพิธภัณฑ์เป็นส่วนสถาปัตยกรรมอิสลาม, อัลกุรอาน และงานเขียนมือ, ห้องจัดแสดงศิลปะจากอินเดีย จีน และคาบสมุทรมาเลย์ ชั้นสองจัดแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์, ผ้า, เครื่องประดับ และเหรียญ และห้องจัดแสดงของสะสมแบ่งตามวัสดุ ได้แก่ เหล็ก ไม้ และเซรามิกส์[3] หนึ่งในของสะสมขึ้นขื่อของพิพิธภัณฑ์คือเครื่องแก้วอิสลาม[4] นอกจากพื้นที่จัดแสดงแล้ว พิพิธภัณฑ์ยังมีส่วนอำนวยความสะดวกสำหรับการศึกษา ค้นคว้า และการอนุรักษ์ชั้นสูง[5] หนึ่งในส่วนจัดแสดงถาวรที่มีชื่อเสียงที่สุดของพิพิธภัณฑ์คือห้องออตโตมันแบบศตวรรษที่สิบเก้า[6][4]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Syed Mohamad Albukhary". Asia-Europe Museum Network. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-16. สืบค้นเมื่อ 22 September 2015.
  2. "Islamic Arts Museum". TimeOut Kuala Lumpur. สืบค้นเมื่อ 22 September 2015.
  3. "Galleries | IAMM" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-11-12.
  4. 4.0 4.1 "Islamic Arts Museum". welcome-kl.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 September 2012. สืบค้นเมื่อ 16 July 2012.
  5. "Conservation & Research Centre | IAMM" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-13. สืบค้นเมื่อ 2020-11-12.
  6. Trevathan, Idries; Thiagarajah, Lalitha (2010). "The Ottoman Room at the Islamic Arts Museum Malaysia: A Technical Study of ITS Methods and Materials". Studies in Conservation. 55 (sup2): 123. doi:10.1179/sic.2010.55.supplement-2.120. ISSN 0039-3630. S2CID 191580158.

อ่านเพิ่มเติม[แก้]

  • Curatorial Department (2002). Islamic Arts Museum Malaysia. Kuala Lumpur: Islamic Arts Museum Malaysia. pp. 280 pages. ISBN 978-9834084509.
  • Lenzi, Iola (2004). Museums of Southeast Asia. Singapore: Archipelago Press. p. 200. ISBN 981-4068-96-9.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]