พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ลฮาร์เบอร์

บทความนี้เป็นบทความแปลของพนักงานดีแทคในความร่วมมือกับวิกิพีเดีย คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
พิกัด: 21°21′36″N 157°57′42″W / 21.3600°N 157.9617°W / 21.3600; -157.9617
นี่คือบทความคุณภาพ คลิกเพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ลฮาร์เบอร์
แผนที่
ชื่อเดิม
พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์
ก่อตั้ง1996
ที่ตั้งเกาะฟอร์ด, เพิร์ลฮาร์เบอร์, รัฐฮาวาย, สหรัฐอเมริกา
พิกัดภูมิศาสตร์21°21′36″N 157°57′42″W / 21.3600°N 157.9617°W / 21.3600; -157.9617
ประเภทพิพิธภัณฑ์การบิน
ผลงานการบิน
ขนาดผลงานเครื่องบิน 43 ลำ
ผู้ก่อตั้งจอห์น สเตอร์ลิง[1]
ผู้อำนวยการElissa Lines[2]
ภัณฑารักษ์Rod Bengston
ขนส่งมวลชนโรเบิร์ตส์ ฮาวาย
เว็บไซต์www.pacificaviationmuseum.org

พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ลฮาร์เบอร์ (เดิมชื่อ พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1999 เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑ์การบินใน รัฐฮาวาย[3] เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ของวุฒิสมาชิก แดเนียล อินุย เพื่อการบูรณะ เกาะฟอร์ด พิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการทางการบินที่หลากหลายโดยส่วนใหญ่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ และ สงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนแรกของพิพิธภัณฑ์ โรงเก็บเครื่องบิน 37 เปิดพร้อมกับพิพิธภัณฑ์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2006 และจัดแสดงนิทรรศการแบบคงที่ของพิพิธภัณฑ์ โรงเก็บเครื่องบินของพิพิธภัณฑ์แสดงถึงความเสียหายจากการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ ตั้งแต่วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941

พิพิธภัณฑ์เป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับการอนุรักษ์ หนึ่งในการทัศนศึกษารอบเกาะฮาวาย โดยโฟกัสสำคัญในการพยายามที่จะปฏิสังขรณ์หอบังคับการ Ford Island และเซ็นต์สัญญาในการเช่าพื้นที่จากกองทัพเรื่อในการเริ่มขึ้นการซ่อมแซม ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์สามารถเข้าชมโดย รถท่องเที่ยวจากพื้นที่ประวัติศาสตร์เพิร์ลฮาร์เบอร์ บนลานบินHalawa หรือใช้บัตรประจำตัวกองทัพสหรัฐจากประตู Admiral Clarey bridge พิพิธภัณฑ์ได้รับจากความพยายามในการอนุรักษ์อาคารทางประวัติศาสตร์ และยังติดอันดับ 10 พิพิธภัณฑ์ทางการบินจาก TripAdvisor

ประวัติศาสตร์[แก้]

Control tower on Ford Island seen in the movies Tora! Tora! Tora! and Pearl Harbor. The tower is being restored by the Pacific Aviation Museum Pearl Harbor.

ในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์อากาศยานแปซิฟิก สร้างขึ้นภายในสนามบินนานาชาติฮอนาลูลู หลังจากการกดดันจากหอการค้าฮาวาย เพื่อให้สร้างพิพิธภัณฑ์การบินในฮาวาย ให้สำเร็จ[4] ในเฟสแรกของการเปิดพิพิธภัณฑ์ใน ค.ศ. 1991 โดย Frank Der Yuen.[4] ภายใต้ความคิดที่การเปิดพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพื่อฉลองการครบรอบชัยชนะเหนือญี่ปุ่น ในค.ศ.1995[5] หลังจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พิพิธภัณฑ์อากาศยานแปซิฟิกถูกระงับการปิดให้บริการโดยรัฐและถูกเคลื่อนย้ายไปในสองปีต่อมา[4] บางส่วนของส่วนจัดแสดงนำกลับมาโดยมูลนิธิพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิก ซึ่งรับผิดชอบในรายการด้านการศึกษาและทุนการศึกษาอีกด้วย[4]

ก่อนการเสร็จสมบูรณ์ของ สะพานAdmiral Clarey Bridge ในปี ค.ศ.1998 การเข้าสู่เกาะฟอร์ด ทั้งผู้ที่อาศัยและนักท่องเที่ยวต้องเข้าผ่านทางเรือเฟอร์รี่เท่านั้น[5] วุฒิสมาชิก Inouye เสนอให้มี "การฟื้นคืนชีพ" เกาะฟอร์ดโดยใช้งบประมาณ $500,000,000 ดอลล่าส์ผ่านทางกฎหมายพิเศษ 2814 U. S. Code[6] เพื่อให้สิทธิแก่กองทัพเรือในการขายที่ดินเพื่อเป็นกองทุนในการฟื้นฟู [7][8][9] ในพื้นที่ประกอบด้วยบ้านพักอาศัยใหม่ของบุคลากรของกองทัพเรือจำนวน 500 หลัง ศูนย์พัฒนาเด็กแห่งใหม่ เรื่องรับรองกองทัพเรือใหม่ และ พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ล ฮาร์เบอร์[8][9] แต่เดิมพิพิธภัณฑ์ถูกเรียกว่า พิพิธภัณฑ์การบินกองทัพแห่งมหาสมุทรแปซิฟิก[9] มูลนิธิระดมทุนเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม $46 million จากหลายแหล่ง ทั้งจาก US รัฐแห่งฮาวาย รัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา และงานราตรีระดมทุนต่างๆ[9][10] ทั้งได้รับการสนับสนุนจาก US นักบินอวกาศกัปตัน Walter Schirra.[9] ในขณะที่เป็นผู้บริหารของSan Diego Air & Space Museum, อลัน ปาล์มเมอร์ถูกจ้างโดยกองทัพอากาศสหรัฐ ให้เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์การบิน และหลังจากนั้นถูกแต่งตั้งให้เป็นประธานบริหารของพิพิธภัณฑ์ในเวลาต่อมา[5][11][12]

การวางศิลาฤกษ์ถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2006 ด้วยเงินทุนการก่อสร้าง $75,000,000 ดอลลาร์ในการก่อวร้างพิพิธภัณฑ์[13][14] และเปิดตัวในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ซึ่งเป็นวันที่ครบรอบ 65 ปี ของการโจมตีท่าเรื่องเพิร์ล ฮาร์เบอร์[15] ประธานพิธีการในวันนั้นคือ ประธานาธิบดีสหรัฐGeorge H.W. Bush, นายพลจัตวากองทัพบก Chuck Yeager, Brigadier General Paul Tibbets.[15] พิพิธภัณฑ์จัดแสดง โรงจอด Hangars 37, 54, และ 79 บน เกาะฟอร์ด กินเนื้อที่ครอบคลุม 16 เอเคอร์[13] ในปี ค.ศ. 2012, พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ ถูกตั้งชื่อว่าสถาบันSmithsonian Institution ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม องค์กรSmithsonian Affiliations [16] ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2013 พิพิธภัณฑ์ได้รับนักท่องเที่ยวครบ 1 ล้านคน[17]

สิ่งอำนวยความสะดวก[แก้]

The arrival of a retired Royal Australian Air Force F-111C in front of hangar 37.

เนื่องจากเป็นสถานที่ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ เพราะเป็นพื้นที่แรกที่มีการแจ้งเตือนทางวิทยุของ โจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์attack on Pearl Harbor พิพิธภัณฑ์วางแผนในการใช้งบ $7,500,000 ดอลลาร์ ในการซ่อมแซมหอบังคับการบนเกาะฟอร์ด[18] ซึ่งถูกลงทะเบียนเป็นสิ่งก่อสร้างประเภท 1 แผนอนุรักษ์ฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ใน ค.ศ. 1978 และภายใต้การซ่อมแซมของบริษัท Kiewit Building Group ซึ่งเซ็นต์สัญญารับผิดชอบการสร้างอาคารของพิพิธภัณฑ์ด้วยเช่นกัน[18] หอบังคับการอายุ 70 ปีและสูง 158 ฟุต (48 เมตร) ซึ่งทรุดโทรมจากบันไดเหล็กและลานจอดเครื่องบินที่ขึ้นสนิมซึ่งต้องซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่[19] หลังจากความเห็นชอบจากกระทรวงกลาโหมสหรัฐเพื่อเก็บรักษาและคงเหลือสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ไว้จึงได้มอบทุนแก่พิพิธภัณฑ์จำนวน$3,800,000 ดอลลาร์เพื่อเป็นทุนในขั้นต้นในการเริ่มโครงการ[20] หอบังคับการรวมถึงทางวิ่งเครื่องบินได้รับเลือกให้เป็นโบราณสถานแห่งชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1964[21] ในปี 2010 จากข้อมูลของสภาคองเกส ว่ากระทรวงกลาโหมได้บริจาคเงินเกือบ$449,000 ดอลลาร์เพื่อเพิ่มเงินทุนในการอนุรักษ์หอคอยดังกล่าว[22] โดยมีเสนอมติโดยวุฒิสมาชิกInouye และทำให้มีผู้เห็นชอบมากมายร่วมบริจาค [22] หอบังคับการยังเป็นสถานที่ประกอบในภาพยนตร์เรื่องTora! Tora! Tora! และPearl Harbor.[23]

โรงจอด Hangar 37เป็นโรงจอดเครื่องบินน้ำ ซึ่งเป็นหนึ่งที่เหลือรอดจากการโจมตีท่าเรื่อเพิร์ล ฮาร์เบอร์ และเป็นโรงจอดแรกที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นพิพิธภัณฑ์ [24] พื้นที่ 7.25 เอเคอร์ (2.93 เฮกเตอร์) ประกอบไปด้วย 9 ส่วนจัดแสดง, 1โรงภาพยนตร์, เครื่องบังคับการจำลองการบิน, 1ร้านที่ระลึกและภัตราคาร[14] งบประมาณนการปรับปรุงพื้นที่เป็นเงินถึง $11,000,000 ดอลลาร์และได้เพิ่มขึ้นจากรัฐบาลสนับสนุนและ ผ่านทางการบริจาคจากหน่วยงานในชุมชน [14] ก่อสร้างเมื่อปี1939 และโรงจอด Hangar 79,พื้นที่ 87,000 ตารางฟุด (8,100ตารางเมตร) ได้รับการบูรณะให้คงเป็นโรงจอดแต่ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงมากมายและรวมถึง ส่วนจัดแสดง เครื่องบินflying tigers ส่วนจัดแสดง เครื่องบินMiG Alley เฮลิคอปเตอร์ เครื่องบินและอากาศยานที่ใช้ทางราชการ[25][26][27] ห้องกระจกในโรงจอดยังคงจัดแสดงหลุมระเบิดจากเครื่องบินญี่ปุ่นจากการโจมตีในวันนั้น[27] มูลนิธิTawani Foundation บริจาค $82,500 ดอลลาร์ในการปรับปรุงโรงจอด Hangar 79.[28]

การจัดแสดง[แก้]

Boeing Stearman Model 75 flown by former President George H.W. Bush

ในปี ประธานผู้บริหารของพิพิธภัณฑ์ McDonalds Fred L. Turner สนันสนุนให้บูรณะเครื่องบิน Douglas SBD Dauntless.[29] และจัดแสดงเครื่องบิน Boeing N2S-3 Stearman ที่ประธานาธิบดี George H.W. Bush ใช้ในการฝึกบินและใช้ในการบินเดี่ยวครั้งแรกไว้ในส่วนจัดแสดง[30]

ซากเครื่องบิน Japanese A6M2 Zero "B11-120" ซึ่งบินโดยพลทหารอากาศ Shigenori Nishikaichi ซึ่งบินจาก เรือบรรทุกเครื่องบินHiryu ซึ่ง บินตกที่เกาะ Ni'ihau หลังจากการโจมตีระรอกที่สองของการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร ยังคงเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์[31] ซึ่งมีการแสดงซากเดิมหลังการตก[32] ยังคงเหลือรถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการขุดคูดินโดยรอบที่ใช้ป้องกันการลงจอด [31] คูดินนี้ถูกขุดขึ้นหลังจากที่เกาะได้รับการแจ้งเตือนว่าญี่ปุ่นมีแผนจะใช้เกาะเป็นฐานปฏิบัติการ[33]

เครื่องบินญี่ปุ่น A6M2-21 Zero ซึ่งเป็นรุ่นเดียวกับเครื่องบินที่ใช้ในการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ที่ถูกกู้ขึ้นมาในปี1968 และเก็บรักษาใช้สามารถใช้บินได้จริง ในปี 1985.[3] แต่เดิมมันบินจากกลุ่มเครื่องบินญี่ปุ่น 201 จากหมู่เกาะโซโลมอน[30] และขายให้กับ Confederate Air Force เพื่อใช้แสดงทางการบินและต่อมาก็ขายให้กับทางพิพิธภัณฑ์ในปี 2006[3]

Swamp Ghost restoration at the Pacific Aviation Museum Pearl Harbor

ในวันที่ 11 เมษายน2013 ซากเครื่องบินทิ้งระเบิด B-17 bomber มาถึงพิพิธภัณฑ์การบินแปซิซิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ซึ่งเป็นเวลาเกือบ70 ปีหลังจากรอดจากการโจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์[34] การเก็บรักษาคาดว่าต้องใช้เงินประมาณ $5,000,000 ดอลลาร์[34] เครื่องบินถูกเรียกว่า"Swamp Ghost", ซึ่งคาดการณ์ว่าบินจากHickam Field ในวันที่ 7 ธันวาคม1941 แต่ล่าช้าไปเนื่องจากเครื่องยนต์ขัดข้องถึงสองครั้ง จึงรอดจากการโจมตีดังกล่าว[34] หลังจากนั้นมันได้ใช้ในการทิ้งระเบิดที่ราบวลในวันที่ 22 กุมภาพันธ์1942 โดยหลังการทิ้งระเบิดเครื่องบินถูกโจมตีโดยเครื่องบินจู่โจมญี่ปุ่น 9 ลำแต่สามารถบินกลับฐานได้ ทั้งที่ใบพัดไม่หมุนและตกลงในหนองน้ำ[34][35] ยาวนานถึง 64 ปี ชื่อเล่นนี้เองจึงถูกนำไปใช้ เครื่องช่วยนำทาง[34] มันถูกค้นพบโดย National Geographic ในปี 1992 และความพยายามหลายครั้งในการกู้ซากแต่ไม่ประสบความสำเร็จจนกระทั่งปี 2006 และกลับมายังสหรัฐอเมริกา ในปี 2010.[34] และมันถูกซื้อคืนมาโดยพิพิธภัณฑ์ในปี 2011ซึ่งเป็นแยกส่วนมาทั้งหมด 7 ชิ้นและปัจจุบันยังคงอยู่ภายนอกโรงจอด Hangar 79.[34][35]

ในเดือนมิถุนายน 2012 พิพิธภัณฑ์จัดสร้างภาพสามมิติสูง 10-ฟุต (3.0-เมตร) กว้าง 40 ฟุตเป็นภาพ ยุทธนาวีมิดเวย์.[36] ซึ่งสั่งการโดยประธานผู้บริหาร Turner ซึ่งใช้งบ $400,000 ดอลลาร์ในใช้เวลาถึ3 3 ปีในการก่อสร้างและเสร็จสมบูรณ์โดยนาวิกโยธินสหรัฐ Karl Lau.[36]

Collection[แก้]

F4F-3 Wildcat on display representing Cactus Air during the Battle of Guadalcanal

East, Wind, Rain[แก้]

ในปี ค.ศ.2008 Hawaii Pacific University ได้มีการพัฒนาภาพยนตร์สารคดีความยาว 12 นาทีในชื่อ East, Wind, Rain ที่ใช้แทนภาพยนตร์ชุดเก่าเพื่อฉายให้แก่ผู้เข้าชมพิพธภัณฑ์[37] ภาพยนตร์อธิบายถึงการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ อันน่าประหลาดใจให้กับผู้ชมและ ยังชนะรางวัลปี 2010 Pixie Gold Award จากสมาคม American Pixel Academy.[38]

ปฏิสัมพันธ์กับชุมชน[แก้]

Conceptual design for photovoltaic panels covering the historic runway on Ford Island.
Barnstorming program
Sign out in front of the Pearl Harbor Historic Sites at Halawa Landing on O'ahu, Hawaii

ความขัดแย้ง[แก้]

ในปี 2013 กองทัพเรือมีความกังวลใจในการเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ของนักท่องเที่ยวจีน1,500 คน จากAmway China ที่เดินทางท่องเที่ยวในเกาะฟอร์ดที่สนใจการจัดแสดงเครื่องบินFlying Tigers เนื่องจากเกาะฟอร์ดยังเป็นฐานทัพที่ยัประจำการอยู่[39] ด้วยความกังวลใจนี้ จึงทำให้กองทัพเรือสร้างกำแพงสูงถึง6-ฟุต (1.8-เมตร) ☃☃☃ เพื่อปิดกั้นฐานทัพเอ[39][40]

ในเดือนมีนาคม 2013 บริการขายตั๋วออนไลน์ถูกแฮกค์ข้อมูล แต่ทางบริษัทผู้ให้บริการของพิพิธภัณฑ์เชื่อว่าไม่มีข้อมูลของลูกค้าที่ถูกแฮกค์ไป[41]

ในเดือนมิถุนายน 2013 พิพิธภัณฑ์ขัดแย้งกับกองทัพเรือสหรัฐ เนื่องจากกองทัพมีแผนที่จะติดตั้งอุปกรณ์รับแสงอาทิตย์ จำนวน 60,000 ชิ้นซึ่งใช้พื้นที่มากกว่า 28 เอเคอร์ ของลานบินบนเกาะฟอร์ด[42] กองทัพเรือส่งเรื่องให้ทางสภาคองเกรสและกระทรวงกลาโหม อนุมัติด้วยสาเหตของการลดพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงของผู้ที่อาศัยบนเกาะฮาวาย ซึ่งแพงที่สุดในสหรัฐอเมริกา[42] แผนการดังกล่าวถูกชี้ประเด็นในการติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวบนลานบินประวัติศษสตร์นี้จะทำให้สามารถผลิตพลังงานไฟได้ถึง 2 ครั้งต่อวัน[43] กองทัพเสนอเงิน $250,000 ดอลลาร์ให้กับพิพิธภัณฑ์เพื่อเป็นทุนในการปรับปรุงลิฟท์ในหอบังคับเพื่อแลกเปลี่ยนกับการสนับสนุนแผนการที่ทางพิพิธภัณฑ์คัดค้านก่อนหน้านี้[43] มีการออกการรณรงค์ทางเว็บไซต์เพื่อต่อต้านแผนการคิดตั้งอุปกรณ์ในสถานที่สำคัญดังกล่าว[42] ดังนั้นทางกองทัพเรือจึงตัดสินใจที่จะติดต่อตั้งอุปกรณ์กล่าวในสถานที่โดยรอบท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์แทน[42]

การมีส่วนรวมกับชุมชน[แก้]

ในปี ค.ศ. 2008 พิพิธภัณฑ์ได้รับความเห็นชอบจาก BAE Systems ในการจัดหาทุนในโปรแกรม Barnstorming เพื่อ สร้างอุโมงค์ลมและเครื่องบินจำลองเพื่อให้ความรู้ในเรื่องความรู้ด้านบรรยากาศแก่นักเรียนในเกรด 6 โรงเรียนในท้องถิ่น[44] ในปี ค.ศ. 2012 โปรแกรม Barnstorming ได้สอนให้แก่นักเรียนมากกว่า 3,500 คนใน 40 โรงเรียน[44]

ในปี ค.ศ. 2013 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้รางวัล "Museums Connect" แก่พิพิธภัณฑ์ สำหรับการมีส่วนร่วมในโปรแกรม "Past to Present: U.S. -Sino Bridge of Connections" program.[45] โปรแกรมยังจัดให้นักเรียนจากโรงเรียน Kaiser High School ได้ส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับนักเรียนจากเมืองเฉิงตู, ประเทศจีน อีกด้วย และจัดการวิจัยในเรื่องความสัมพันธ์อเมริกา-จีนเมื่อปีประมาณ1940[45]

การท่องเที่ยว[แก้]

ในระหว่างปัญหาการระงับใช้งบประมาณปี 2013 ในสหรัฐ ทางพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ได้ต้อนรับนักท่องเที่ยวมากขึ้น เนื่องจากการจำกัดจำนวนเที่ยวเรือเฟอร์รี่ ที่จะเดินทางไป อนุสรณ์สถานUSS Arizona ซึ่งดำเนินการโดยกองทัพเรื่อสหรัฐ[46] เนื่องจสกเกาฟอร์ดยังเป็นส่วนหนึ่งของกองที่ทำการกองทัพJoint Base Pearl Harbor-Hickam ที่ยังทำการอยู่ นักท่องเที่ยวจึงต้องผ่าน กองบริการอุทยานแห่งชาติ ท่าเรื่อHalawa ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่ออุทยานประวัติศาสตร์เพิร์ล ฮาร์เบอร์ โดยต้องซื้อบัตรเข้าชมแล้วจึงเดินทางโดยรถบัสท่องเที่ยวไปยังพิพิธภัณฑ์และเรื่อ USS Missouri ได้[47]

การยอมรับและรางวัลต่างๆ[แก้]

พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ล ฮาร์เบอร์ติดอันดับ 8 สุดยอดสถานที่การบินดึงดูดใจที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยTripAdvisor.[48] ในปี ค.ศ.2007 พิพิธภัณฑ์ได้รับรางวัลการอนุรักษ์จากมูลนิธิประวัติศาสตร์ฮาวาย จาก"โครงการพิเศษในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูอาคาร วัตถุ สถานที่ หรือบริเวณทางประวัติศาสตร์" ในการพัฒนาพื้นที่ Hangar 37[49]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Pacific Aviation Museum Pearl Harbor 2009 Annual Report" (PDF). Pearl Harbor Aviation Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-10. สืบค้นเมื่อ 10 December 2018.
  2. Cole, William (1 January 2018). "Pearl Harbor aviation museum's ex-director kept an eye on steady growth". Stars and Stripes. Stars and Stripes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-30. สืบค้นเมื่อ 7 January 2018.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Rare Japanese Aircraft Returns to Pearl Harbor". US Fed News Service, Including US State News. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 19, 2014. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Burl Burlingame (2013). I'll Fly to Hawaii — A century of Aviation. Pacific Monograph. p. 135,141. ISBN 9780962922763.
  5. 5.0 5.1 5.2 Scott Ishikawa (November 2, 1997). "Museum plan taking flight". The Honolulu Advertiser. p. A27.
  6. 10 U.S.C. § 2814
  7. Kakesako, Gregg K. (2 September 2007). "A Reborn Ford Island Hosts Military Minds". Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ 11 February 2014.
  8. 8.0 8.1 Kakesako, Gregg K. (14 April 1998). "Bridge Opens Path to Ford Island Development". Honolulu Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ 13 February 2014.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 Gregg K. Kakesako (December 1, 2002). "Ford Island fund-raiser set". Honolulu Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
  10. Sandra Sagisi (December 12, 2002). "Heroes Help Raise Funds for Military Aviation Museum in Hawaii". Military Aviation Museum of the Pacific Public Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
  11. "Commander Palmer". Winter Park High School Alums - Class of 1961. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
  12. Gregg K. Kakesako (March 26, 2006). "Vintage warplanes will join the displays at a museum honoring Pacific air combat". Star-Bulletin. สืบค้นเมื่อ May 12, 2014.
  13. 13.0 13.1 Journalist 2nd Class Devin Wright (2006). "Aviation returns to Ford Island". US Fed News Service, Including US State News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  14. 14.0 14.1 14.2 "Pacific Aviation Museum to Open". VFW Magazine. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  15. 15.0 15.1 "Pearl Harbor Museum". Plane and Pilot. 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 2, 2014 – โดยทาง HighBeam Research. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  16. "Pacific Aviation Museum named affiliate of Smithsonian". KHON2. September 20, 2012. สืบค้นเมื่อ May 4, 2014.
  17. Ian McDonald (April 4, 2013). "Modesto Family the Millionth Visitor to Hawaii's Pearl Harbor Museum". Fox40. สืบค้นเมื่อ March 12, 2013.
  18. 18.0 18.1 "Pacific Aviation Museums preserves historic Ford Island tower". States News Service. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  19. Catherine E. Toth (February 25, 2011). "Restoration work begins at historic Pearl Harbor air control tower". Hawai'i Magazine. สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
  20. Janice Wood (December 11, 2011). "Control dedication part of Pearl Habor anniversary ceremonies". General Aviation News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014.
  21. Debra Cleghorn (September 12, 2012). "Pearl Harbor's Historic Runway to be Covered with Solar Panels". Model Airplane News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 4, 2014.
  22. 22.0 22.1 Kerry Murakami (May 6, 2013). "How Lobbyist Dollars Helped Save The Pearl Harbor Tower". Honolulu Civil Beat. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  23. Gordon Y.K. Pang (February 26, 2011). "Officials aim to complete the $7.5M Ford Island Control Tower restoration before the 70th anniversary of Pearl Harbor's bombing". Star Advertiser. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014.
  24. "Pacific Aviation Museum at Pearl Harbor". Hawaii Activities.com. 31 July 2013.
  25. Ben Gutierrez (December 1, 2011). "Hundreds come together for Pacific Aviation Museum fundraiser". Hawai'i News Now. สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
  26. "Record-Breaking Aircraft Known as "Missile With a Man in It" Lands at Pacific Aviation Museum Pearl Harbor" (Press release). e-releases. May 30, 2013.
  27. 27.0 27.1 Kris Bordessa (April 1, 2013). "Visiting the Pearl Harbor Historic Sites". Geeky States of America. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  28. "2011 Annual Report" (PDF). tawanifoundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ 2014-07-14.
  29. "Fred L. Turner, McDonald's Honorary Chairman and Former CEO, Passes Away". McDonald's. January 7, 2013. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
  30. 30.0 30.1 "Pacific Aviation Museum - Epicenter of History". US Fed News Service, Including US State News. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  31. 31.0 31.1 "The Pacific Aviation Museum – Part 2 – The Ni'ihau Incident". February 2, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-11. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
  32. Let's Go, Inc. (2008). Jessica Lane Lucier; Evelyn Z. Hsieh (บ.ก.). Let's Go Hawaii 5th Edition. Macmillan. p. 448. ISBN 9780312385798.
  33. "Robinson family visits Ni'ihau exhibit at Pacific Aviation Museum". US Fed News Service, Including US State News. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  34. 34.0 34.1 34.2 34.3 34.4 34.5 34.6 William Cole (April 11, 2013). "WWII bomber arrives at isle aviation museum". Honolulu Star-Advertiser. p. B3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 2014-07-14.
  35. 35.0 35.1 "Historic B17 Flying Fortress finds home at Ford Island". KITV. April 10, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  36. 36.0 36.1 Jeff Danna (April 26, 2012). "Glenview man brings Battle of Midway to life in diorama". Chicago Tribune. สืบค้นเมื่อ May 4, 2014.
  37. Jennifer Ching (November 4, 2008). "The HPU Documentary and Corporate Video class, also known as Video III, is celebrating two recent achievements". Kalamalama, the HPU Student Newspaper. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.
  38. "Pixie Previous Winners" (PDF). American Pixel Academy. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.
  39. 39.0 39.1 William Cole (January 21, 2013). "Chinese visitors' tour of museum puts Navy on edge". Star Advertiser. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
  40. William Cole (2013). "Fence Restricts Chinese Visitors at Museum". Honolulu Star - Advertiser. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ March 14, 2014 – โดยทาง HighBeam Research.
  41. HawaiiNewsNow Web Staff (June 8, 2013). "Pacific Aviation Museum's online ticketing service hacked". Hawaii News Now. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  42. 42.0 42.1 42.2 42.3 William Cole (June 13, 2013). "Navy halts move for solar project on historic runway". Star Advertiser. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  43. 43.0 43.1 William Cole (October 1, 2012). "Buffeted by opposition, Navy blinks on solar site". McClatchy-Tribute Regional News.
  44. 44.0 44.1 Jenna Blakely (May 3, 2013). "Pacific Aviation Museum seeks sponsors to help kids program fly on Neighbor Islands". Pacific Business News. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  45. 45.0 45.1 "Pacific Aviation Museum bridges cultural exchange project for Kaiser students". Hawaii State Teachers Association. January 7, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-13. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
  46. Stephanie Silverstein (April 26, 2013). "Battleship Missouri, other Pearl Harbor sites benefit from sequestration". Pacific Business News. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  47. "Navy transfers Halawa Landing to National Park Service". US Fed News Service. April 7, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-19. สืบค้นเมื่อ May 5, 2014 – โดยทาง Highbeam.
  48. "TripAdvisor Airs Out America's Top 10 Aviation Attractions" (Press release). TripAdvisor. August 5, 2010. สืบค้นเมื่อ March 12, 2014.
  49. "2007 Preservation Honor Award Winners". Historic Hawaii Foundation. 2007. สืบค้นเมื่อ May 7, 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]