พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ | |
---|---|
พระวรวงศ์เธอ ชั้น 2 พระองค์เจ้าชั้นตรี | |
![]() | |
องคมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง | 19 กันยายน พ.ศ. 2435[1] |
หม่อม | หม่อมเล็ก หม่อมเจิม ศรียาภัย หม่อมผาด หม่อมนวล หม่อมทรัพย์ และหม่อมถนอม |
พระบุตร | 18 คน |
ราชวงศ์ | จักรี |
พระบิดา | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ |
พระมารดา | หม่อมทรัพย์ |
ประสูติ | 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 |
สิ้นพระชนม์ | 13 มีนาคม พ.ศ. 2479 (74 ปี) |
รับใช้ | กองทัพบกสยาม |
---|---|
ชั้นยศ | ![]() |
มหาอำมาตย์ตรี[2] นายพันตรี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 - 13 มีนาคม พ.ศ. 2479) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ประสูติแต่ หม่อมทรัพย์
พระประวัติ[แก้]
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ พระนามเดิม หม่อมเจ้าอลังการ มาลากุล อดีตองคมนตรี อธิบดีกรมส่วย รัฐมนตรี ปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ สภานายกรัฐมนตรี บังคับการกรมพระคชบาล และข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลปราจีนบุรี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระสุพรรณบัฏ สถาปนาขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ ถือศักดินา ๓๐๐๐ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 เนื่องในวันฉัตรมงคล[3] เครื่องยศในเวลารับพระสุพรรณบัฏ หีบหมากเสวยไม้แดงหุ้มทองคำลงยา ตราครุฑ 1 หีบ[4] ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดวงการภาพยนตร์ไทย โดยจัดให้มีการละเล่น ซีนีมาโตแครฟ จากกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ณ โรงละครหม่อมเจ้าอลังการ ข้างประตูสามยอด ถือเป็นครั้งแรกที่มีการจัดการฉายในประเทศไทย และเป็นวิวัฒนาการใหม่ในโลกขณะนั้น[5]
พระโอรส-พระธิดา[แก้]
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ เสกสมรสกับ หม่อมเล็ก จ.จ.[6] หม่อมเจิม ศรียาภัย หม่อมผาด หม่อมนวล หม่อมทรัพย์ และหม่อมถนอม ทรงมีพระโอรส-พระธิดา จำนวน 18 คน จากหม่อมทั้งหมดจำนวน 6 คน ดังนี้
ในหม่อมเล็ก
- หม่อมราชวงศ์ณัฐสฤษดิ์ มาลากุล สมรสกับ นางบุญช่วย มีธิดา 2 คนดังนี้
- หม่อมหลวงหญิงชวลิต ธรมธัช สมรสกับ ขุนเอนก ธรมธัช
- หม่อมหลวงหญิงชุมนุม ประเสริฐศรี
- หม่อมราชวงศ์ฐิตะไชย มาลากุล (เสียชีวิตตั้งแต่วัยหนุ่ม และไม่มีทายาท)
- หม่อมราชวงศ์หญิงไขฉวี หาสตะนันทน์ สมรสกับ นาวาเอก หลวงประพรรดิ์จักรกิจ ราชนาวี (แสวง หาสตะนันทน์) มีบุตร-ธิดา 8 คนดังนี้
- นางวลีศิริ กรรณสูต
- นายบำเรอ หาสตะนันทน์
- นายสุขุม หาสตะนันทน์
- นางนฤมนต์ (สวง) ศิขรินทร์ สมรสกับ นายอารีย์ ศิขรินทร์
- นางวิบูลย์ศรี (สมบูรณ์) หาสตะนันทน์
- นางวรรณา หาสตะนันทน์
- นายแพทย์สรรเสริญ หาสตะนันทน์
- หม่อมราชวงศ์ศรีธวัช มาลากุล สมรสกับ นางทองอยู่ ทัพชูวงศ์ มีบุตร-ธิดา 5 คน และนางถมยา มั่นมณี มีบุตร 3 คนดังนี้
- หม่อมหลวงหญิงจรัสไข อัธยาศัยวิสุทธิ์ เกิดจากนางทองอยู่ สมรสกับ นายเชิด อัธยาศัยวิสุทธิ์
- หม่อมหลวงหญิงอำไพนัต ภาคธูป เกิดจากนางทองอยู่ สมรสกับ นายพัว ภาคธูป
- หม่อมหลวงฉัตรชัย มาลากุล เกิดจากนางทองอยู่ สมรสกับ นางสุคนธ์ มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนะ)
- นาวาเอก หม่อมหลวงไพบูลย์ มาลากุล ราชนาวี เกิดจากนางทองอยู่ สมรสกับ นาวาเอกหญิง พนิดา มาลากุล ณ อยุธยา ราชนาวี (สกุลเดิม จิตรสมัย)
- หม่อมหลวงพูลศักดิ์ มาลากุล เกิดจากนางทองอยู่ สมรสกับ นางเพลินอารม มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม จิตต์ธรรม)
- หม่อมหลวงภักดี มาลากุล เกิดจากนางถมยา
- หม่อมหลวงปรีชา มาลากุล เกิดจากนางถมยา สมรสกับ นางชฎาภา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ภาคีทรง)
- หม่อมหลวงมาโนช มาลากุล เกิดจากนางถมยา สมรสกับ นางสุวัฒนา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม รัศมีดิษฐ์)
- หม่อมราชวงศ์พัฒนา มาลากุล สมรสกับ นางเหมย เดี่ยวเด่น มีบุตร-ธิดา 5 คน นางละม้าย ภูเดช มีบุตร-ธิดา 7 คน นางเที่ยง บ้านกลาง มีบุตร-ธิดา 6 คนดังนี้
- หม่อมหลวงภมร มาลากุล เกิดจากนางเหมย
- หม่อมหลวงพิมล มาลากุล เกิดจากนางเหมย สมรสกับ นางเล็ก มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม รัตนจักร)
- หม่อมหลวงหญิงจงกล มาลากุล เกิดจากนางเหมย สมรสกับ นายประเสริฐ
- หม่อมหลวงหญิงอุบล เสมรสุวรรณ เกิดจากนางเหมย สมรสกับ นายอุดม เสมรสุวรรณ
- หม่อมหลวงวิฑูรย์ มาลากุล เกิดจากนางเหมย สมรสกับ นางถาวร
- หม่อมหลวงโกสุม มาลากุล เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นางสุมิตรา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม สุคนธมัช)
- หม่อมหลวงโกศล มาลากุล เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นางสุบิน
- หม่อมหลวงพิศาล มาลากุล เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นางอัมพร มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศุภวารี)
- หม่อมหลวงหญิงลมุน ศรานุชิต เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นายกังวาล ศรานุชิต
- หม่อมหลวงหญิงดาราวรรณ ฤทธิรักษ์ เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นายชาลี ฤทธิรักษ์
- หม่อมหลวงวุฒิไกร มาลากุล เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นางภัทราภรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ใหญ่ลำยอง)
- หม่อมหลวงไพฑูรย์ มาลากุล เกิดจากนางละม้าย สมรสกับ นางวัลยา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม กลิ่นกลั่น)
- หม่อมหลวงโกมล มาลากุล เกิดจากนางเที่ยง สมรสกับ นางประชุม มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทองอยู่)
- หม่อมหลวงหญิงประยงค์ มาลากุล เกิดจากนางเที่ยง
- หม่อมหลวงหญิงลัดดา ทองเล็ก เกิดจากนางเที่ยง สมรสกับ นายสวัสดิ์ ทองเล็ก
- หม่อมหลวงหญิงทัศนา(มาลี) สุขตลอด เกิดจากนางเที่ยง สมรสกับ นายสนั่น สุขตลอด
- หม่อมหลวงพิชัย มาลากุล เกิดจากนางเที่ยง
- ร้อยตำรวจเอก หม่อมหลวงไตรทิพย์ มาลากุล เกิดจากนางเที่ยง สมรสกับ นางสมปอง
- หม่อมราชวงศ์หญิงบรรจง มาลากุล สมรสกับ นายสุดจิตต์ เตมียสูตย์ มีธิดา 2 คน และกับนายแพทย์โพธิ์ นาคะเสถียร มีบุตร-ธิดา 2 คนดังนี้
- เด็กหญิงชยิน เตมียสูตย์ เกิดกับนายสุดจิตต์
- นางบัญญัติ เตมียสูตย์ เกิดกับนายสุดจิตต์
- นายไพบูลย์ นาคะเสถียร เกิดกับนายแพทย์โพธิ์
- หม่อมหลวงรำพึง มาลากุล เกิดกับนายแพทย์โพธิ์ สมรสกับ พันตำรวจเอก สุริยา นาคพงษ์ มีบุตร-ธิดา 4 คนดังนี้
- นางไพรำ นาคพงษ์
- นางสุภัทร นาคพงษ์
- นายสุรยุทธ์ มาลากุล
- นางรำไพพักตร์ มาลากุล
ในหม่อมเจิม ศรียาภัย
- หม่อมราชวงศ์จรูญรัตน์ มาลากุล สมรสกับ นางสวัสดิ์ มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม หทยานนท์) มีบุตร-ธิดา 2 คนดังนี้
- นาวาเอก หม่อมหลวงเชาวรัตน์ มาลากุล สมรสกับ นางบวร มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม จันทรสูตร)
- หม่อมหลวงหญิงเสรีรัตน์ บุณยเศรษฐ สมรสกับ นายเชาวลิต บุณยเศรษฐ
ในหม่อมผาด
- หม่อมราชวงศ์ประเทือง มาลากุล สมรสกับ นางละออ มีบุตร-ธิดา 6 คน และนางสุภาพ มีธิดา 1 คนดังนี้
- หม่อมหลวงประสพไชย มาลากุล เกิดจากนางละออ
- หม่อมหลวงหญิงประสงค์ มาลากุล เกิดจากนางละออ
- หม่อมหลวงหญิงประสิทธิ์ศรี เข้มบุญศรี เกิดจากนางละออ สมรสกับ นายจำลอง เข้มบุญศรี
- หม่อมหลวงประสมศิลป์ มาลากุล เกิดจากนางละออ
- หม่อมหลวงประจวบพันธ์ มาลากุล เกิดจากนางละออ
- หม่อมหลวงประเสริฐศรี มาลากุล เกิดนางนางละออ
- หม่อมหลวงหญิงประชุมพร มาลากุล เกิดจากนางสุภาพ
ในหม่อมนวล
- หม่อมราชวงศ์หญิงแฉล้ม มาลากุล สมรสกับ พันตรี นายแพทย์หลวงฉัตรพลรักษ์ (ฉัตร พงศ์ศักดิ์) มีบุตร 1 คนดังนี้
- นายฉัตรดนัย ฉัตรพลรักษ์ สมรสกับ นางสายสัมพันธ์ ฉัตรพลรักษ์ บุตรีเอกอัครราชทูตสุนทร สุวรรณสาร และนางจำนรรจ์ สุวรรณสาร (สกุลเดิม วสันตสิงห์) มีบุตร-ธิดา 2 คนดังนี้
- นางสาวกัญญาภิรมย์ (อาภาภิรมย์) ฉัตรพลรักษ์
- นายพิชญ ฉัตรพลรักษ์
- นายฉัตรดนัย ฉัตรพลรักษ์ สมรสกับ นางสายสัมพันธ์ ฉัตรพลรักษ์ บุตรีเอกอัครราชทูตสุนทร สุวรรณสาร และนางจำนรรจ์ สุวรรณสาร (สกุลเดิม วสันตสิงห์) มีบุตร-ธิดา 2 คนดังนี้
ในหม่อมทรัพย์
- หม่อมราชวงศ์หญิงชลอ มาลากุล
ในหม่อมถนอม
- หม่อมราชวงศ์หญิงแข เชื้อสุวรรณ สมรสกับ นายรัตน เชื้อสุวรรณ มีธิดา 1 คนดังนี้
- นางลิขิต ชัยพินิจ สมรสกับ นายวินัย ชัยพินิจ
- หม่อมราชวงศ์ประยูร มาลากุล สมรสกับ นางสว่าง วรรณมิตร มีธิดา 1 คน นางสีนวล มาลากุล มีบุตร-ธิดา 4 คน และนางอุทัย มีบุตร 1 คนดังนี้
- หม่อมหลวงหญิงเสถียร แจ่มจันทร์ เกิดจากนางสว่าง สมรสกับ นายบุญลือ แจ่มจันทร์
- หม่อมหลวงอุทัย มาลากุล เกิดจากนางสีนวล สมรสกับ นางบุญสม มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม มณฑาลพ)
- หม่อมหลวงประทีป มาลากุล เกิดจากนางสีนวล สมรสกับ นางรวม มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม สาเจริญ) มีบุตร-ธิดา 2 คนดังนี้
- นายธนาพชร มาลากุล
- นางสุนันทา มาลากุล สมรสกับ นายอำนาจ โสมากุล มีบุตร-ธิดา 3 คนดังนี้
- นางสาวนงลักษณ์ มาลากุล
- นายคุณานนท์ มาลากุล
- นางสาวจันทิมา มาลากุล
- หม่อมหลวงบุญเทียม มาลากุล เกิดจากนางสีนวล สมรสกับ นางสมปอง
- หม่อมหลวงหญิงสัญญาลักษณ์ เทียนทอง เกิดจากนางสีนวล สมรสกับ นายพิมล เทียนทอง
- หม่อมหลวงประทีบ มาลากุล เกิดจากนางอุทัย
- หม่อมราชวงศ์สมพงษ์ มาลากุล สมรสกับ นางประทุม มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศรีใหม่) มีบุตร-ธิดา 7 คนดังนี้
- หม่อมหลวงหญิงสมทบ นามสว่าง สมรสกับ นายบุญมา นามสว่าง
- นางสาวพนิตตา นามสว่าง
- หม่อมหลวงหญิงสายปัญญา จิรวรรณธร สมรสกับ นายวิเชียร จิรวรรณธร
- นางสาววรรณธร จิรวรรณธร
- นางจิรวรรณ จิรวรรณธร
- นางสาวส่องศรี จิรวรรณธร
- หม่อมหลวงสุพจน์ มาลากุล
- หม่อมหลวงสัมพันธ์ มาลากุล สมรสกับ นางปราณีต
- หม่อมหลวงสกุล มาลากุล สมาชิกวุฒิสภา[7] สมรสกับ นางอ้อมจิตต์ มาลากุล ณ อยุธยา
- นางสาวจารุเนตร มาลากุล ณ อยุธยา
- เด็กหญิงอรชพร มาลากุล ณ อยุธยา
- หม่อมหลวงหญิงกรุณา วงษ์พันธ์ สมรสกับ เรือโท ไพบูลย์ วงษ์พันธ์
- นายมานพ มาลากุล ณ อยุธยา
- นางสาวพิชญา วงษ์พันธ์
- หม่อมหลวงปกป้อง มาลากุล สมรสกับ นางวันเพ็ญ มาลากุล ณ อยุธยา
- นางสาวปัญจพร มาลากุล ณ อยุธยา
- นางสาวปรียาพร มาลากุล ณ อยุธยา
- หม่อมหลวงหญิงสมทบ นามสว่าง สมรสกับ นายบุญมา นามสว่าง
- หม่อมราชวงศ์หญิงสมถวิล เขียวลายเลิศ สมรสกับ นายประธาน เขียวลายเลิศ มีธิดา 1 คนดังนี้
- นางรุ่งเรือง เขียวลายเลิศ
- หม่อมราชวงศ์เจริญ มาลากุล สมรสกับ นางสำเนียง มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม เปรมสมิทธ์) มีบุตร-ธิดา 9 คนดังนี้
- หม่อมหลวงณรงค์ มาลากุล สมรสกับ นางทองดี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม คำดวง) มีบุตร 3 คนดังนี้
- นายดิเรก มาลากุล ณ อยุธยา
- นายวิรัตน์ มาลากุล ณ อยุธยา
- นายธงชัย มาลากุล ณ อยุธยา
- ร้อยตรี หม่อมหลวงปรีชา มาลากุล สมรสกับ นางเบญจมาศ มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม สุขโข) มีบุตร 3 คนดังนี้
- นายปัญญพัฒน์ มาลากุล ณ อยุธยา สมรสกับ นางสาวอรัญญา เดชาละมัย
- นายปรัชญา มาลากุล ณ อยุธยา
- สิบเอก ปริญญา มาลากุล ณ อยุธยา
- หม่อมหลวงบรรจบ มาลากุล สมรสกับ นางสุกัญญา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม นิยมจันทร์) มีธิดา 4 คนดังนี้
- นางสาวสุจิรา มาลากุล ณ อยุธยา
- นางสาวจุติพร มาลากุล ณ อยุธยา
- นางสาวนฤมล มาลากุล ณ อยุธยา
- ด.ญ.จิตรานุช มาลากุล ณ อยุธยา
- หม่อมหลวงหญิงศรีประจันทร์ มาลากุล
- หม่อมหลวงหญิงศรีสุดา มาลากุล
- จ่าสิบเอก หม่อมหลวงศักดา มาลากุล สมรสกับ นางศรีนวล มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม พึ่งพา) มีบุตร 3 คนดังนี้
- นายภานุพงศ์ มาลากุล ณ อยุธยา
- นายจิรวัฒน์ มาลากุล ณ อยุธยา
- นายจิรวุฒิ มาลากุล ณ อยุธยา
- หม่อมหลวงหญิงสุทิน อรรถปักษ์ สมรสกับ นายราเชษฐ์ อรรถปักษ์ มีธิดา 1 คนดังนี้
- ด.ญ.สวรรญา อรรถปักษ์
- หม่อมหลวงประชา มาลากุล สมรสกับ นางวันเพ็ญ มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม อำไพโชติ) มีบุตร 1 คนดังนี้
- นายเกรียงไกร มาลากุล ณ อยุธยา
- หม่อมหลวงหญิงสมจิตร พัฒนา สมรสกับ จ่าสิบเอก ศุภกิตติ์ พัฒนา มีบุตร 1 คนดังนี้
- นายสัญฐิติ พัฒนา
- หม่อมหลวงณรงค์ มาลากุล สมรสกับ นางทองดี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม คำดวง) มีบุตร 3 คนดังนี้
- หม่อมราชวงศ์หญิงขจิตร์ เจริญชื่น สมรสกับ ร้อยตรี เดชา เจริญชื่น มีบุตรธิดา 2 คนดังนี้
- นางพรรณงาม สัพพะเลข สมรสกับ นายจำรัส สัพพะเลข
- นายชาคริต เจริญชื่น
- หม่อมราชวงศ์หญิงละเวียด ปานไหล่ สมรสกับ นายศิริ ปานไหล่ มีบุตรธิดา 3 คนดังนี้
- นายนคร ปานไหล่
- นายอดิศร ปานไหล่
- นางสุดสนอง ปานไหล่
พระเกียรติยศ[แก้]
พระอิสริยยศ[แก้]
- หม่อมเจ้าอลังการ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443)
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2479)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2443 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[8]
- พ.ศ. 2436 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[9]
- พ.ศ. 2436 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)[10]
- พ.ศ. 2423 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.)[11]
- พ.ศ. 2441 –
เหรียญราชินี (ส.ผ.)[12]
อ้างอิง[แก้]
- เชิงอรรถ
- ↑ การพระราชพิธีศรีสัจปานกาล พระราชทานพระชัยวัฒน์ องค์เล็ก แลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ แลตั้งองคมนตรี (หน้า ๒๐๑)
- ↑ ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานยศแก่ข้าราชการ กระทรวงมหาดไทย (หน้า ๙๙๔)
- ↑ "สถาปนาพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอลังการ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-15. สืบค้นเมื่อ 2021-04-17.
- ↑ เครื่องยศที่ได้รับพระราชทานเวลารับพระสุพรรณบัตร แลสุพรรณบัตร
- ↑ ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
- ↑ จตุตถจุลจอมเกล้า
- ↑ "แต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่า|url=
(help) - ↑ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
- ↑ "ทุติยจุลจอมเกล้า". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่า|url=
(help) - ↑ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10 หน้า 417
- ↑ พระราชทานตราเครื่องราชอิสริยยศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 1 หน้า 542
- ↑ "พระราชทานเหรียญราชินี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 15 (ตอน 26): หน้า 283. 25 กันยายน ร.ศ. 117. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม พ.ศ. 2564.
{{cite journal}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help)