พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 | |
---|---|
![]() | |
รัฐสภาไทย | |
ผู้พิจารณา | |
ผู้ลงนาม | พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร |
วันลงนาม | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 |
ผู้ลงนามรับรอง | ชวน หลีกภัย |
วันประกาศ | 4 ธันวาคม พ.ศ. 2542 |
วันเริ่มใช้ | 3 มีนาคม พ.ศ. 2543 |
ท้องที่ใช้ | ประเทศไทย |
การร่าง | |
ผู้เสนอ |
|
การยกร่างในชั้นสภาล่าง | |
วาระที่หนึ่ง | 15 ตุลาคม พ.ศ. 2541 |
วาระที่สอง | 22 กันยายน พ.ศ. 2542 |
การยกร่างในชั้นสภาสูง | |
วาระที่หนึ่ง | 9 เมษายน พ.ศ. 2542 |
วาระที่สอง | 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 |
วาระที่สาม | 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 |
การพิจารณาในสภานิติบัญญัติ | |
การแก้ไขเพิ่มเติม | |
การยกเลิก | |
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง | |
|
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 เป็นพระราชบัญญัติที่ตราขึ้นโดยรัฐสภาไทยในปี พ.ศ. 2542 เพื่อจำกัดสิทธิการเป็นเจ้าของของชาวต่างชาติในอุตสาหกรรมบางส่วนของไทย พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ประกาศใช้แทนประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515, พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2521 และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 โดยอุตสาหกรรมที่คนไทยต้องถือหุ้นใหญ่ ได้แก่ ธุรกิจหนังสือพิมพ์ สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีโทรทัศน์ การทำนา การเลี้ยงสัตว์ การประมง การค้าที่ดิน การทำเหมืองแร่ การขายส่งและการขายปลีก ภัตตาคาร และธุรกิจบริการทุกประเภท[1] กฎหมายกำหนดให้คนไทยที่ถือหุ้นแทนคนต่างชาติเป็นผู้กระทำผิดกฏหมาย ผู้ถือหุ้นแทนอาจถูกปรับตั้งแต่ 100,000 ถึง 1 ล้านบาท และอาจถูกจำคุกไม่เกิน 3 ปี
อ้างอิง
[แก้]- Konrad Legal Company Limited, [1], 24 พฤษภาคม 2021