ผู้ใช้:Thmmrth/กระบะทราย/เดอะ พรอมส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เดอะ พรอมส์


ภายนอกรอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ระหว่างงานบีบีซี พรอมส์ ในปี 2008

เดอะ พรอมส์ (อังกฤษ: The Proms) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เดอะ บีบีซี พรอมส์ (อังกฤษ: The BBC Proms) หรือ คอนเสิร์ต เดอะ เฮนรี วูด พรอมเนด จัดโดย บีบีซี (อังกฤษ: The Henry Wood Promenade Concerts presented by the BBC) เป็นงานคอนเสิร์ตดนตรีคลาสิคบรรเลงโดยวงออร์เคสตราและงานอื่น ๆ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยใน 1 ฤดูกาลนั้นจะใช้เวลาจัดทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ โดยงานหลักจะจัดขึ้นที่รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เดอะ พรอมส์เริ่มขึ้นครั้งแรกในปี 1895 ซึ่งในแต่ละฤดูกาลนั้นจะมีคอนเสิร์ตมากกว่า 70 ครั้งที่รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ และมีงานคอนเสิรต์ย่อยจากวงดนตรีแชมเบอร์ที่คาโดกานฮอลล์ งานพรอมส์ อิน พาร์คหลายแห่งในสหราชอาณาจักร ในวันสุดท้าย งานเพื่อการศึกษาและเพื่อเยาวชน ในปี 2009 จำนวนของคอนเสิร์ตได้แตะเลข 100 เป็นครั้งแรก ยีริ เบโลฮลาเวค (เช็ก: Jiří Bělohlávek) ได้บรรยายเดอะ พรอมส์ไว้ว่า "เทศการดนตรีนี้เป็นคอนเสิร์ตที่ใหญ่ที่สุด และเปิดกว้างที่สุด" [1]

พรอม เป็นการเรียกอย่างย่อสำหรับคอนเสิร์ตพรอมเนด เป็นการจำกัดความถึงคอนเสิร์ตกลางแจ้งในอุทยานในกรุงลอนดอน ซึ่งผู้เข้าร่วมงานสามารถเดินรอบ ๆ งานระหว่างที่วงดนตรีออร์เคสตราบรรเลงอยู่ได้อย่างอิสระ ในความเป็นจริง ความหมายดั้งเดิมได้หมายถึงในสวนสาธารณะและที่พักอาศัยอันสง่า ใหญ่ทั่วทั้งลอนดอน อย่างเช่น เดอะ แบทเทิล พรอมส์ ในบริบทของบีบีซ๊ พรอมส์ พรอมมิ่งอ้างถึงการยืนภายในสถานที่อย่างโถงหรือห้องจัดแสดง ซึ่งราคาตั๋วจะถูกกว่าการจองที่นั่งเป็นอย่างมาก บัตรเข้าชมคอนเสิร์ตแบบยืนหรือพรอมมิ่งทั้งในโถงหรือห้องจัดแสดงจะซื้อได้เฉพาะวันงานเท่านั้น ซึ่งทำให้แถวในการยืนรอซื้อบัตรสำหรับศิลปินชื่อดังมีความยาวที่ยาวมาก

ประวัติ[แก้]

งานคอนเสิร์ตพรอมเนดที่รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ในปี 2004 หุ่นจำลองขนาดครึ่งตัวของเฮนรี วูดจะอยู่ด้านหน้าของออร์แกน

จุดเริ่มต้นและเฮนรี วูด[แก้]

คอนเสิร์ตพรอมเนดได้เริ่มในอุทยานในกรุงลอนดอนตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 18 แต่เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 1895 ผู้อำนวยการแสดงรอเบิร์ต นิวแมนได้จัดการแสดงพรอมเนดคอนเสิร์ตในร่มเป็นครั้งแรกที่ควีนส์ฮอลล์ในย่านลางแฮมเพลส แนวคิดของนิวแมนได้กระตุ้นในมีผู้เข้าชมคอนเสิร์ตมากขึ้น ถึงแม้ว่าพวกเขาจะไม่ค่อยเข้างานคอนเสิร์ตคลาสสิกมาก่อนเลยก็ตาม ซึ่งแนวคิดของนิวแมนก็ได้ดึงดูดผู้คนเพราะราคาบัตรเข้าชมที่ถูกและบรรยากาศที่ไม่เป็นทางการมากเกินไป ซึ่งการรับประทานอาหาร การดื่ม และการสูบบุหรี่ก็ได้รับอนุญาตให้กระทำได้ในงานนี้ เขาได้พูดถึงเป้าหมายของเขาว่า

ผมกำลังจะเริ่มต้นงานคอนเสิร์ตรายคืน และทำให้ง่ายต่อสาธารณชน งานนี้เริ่มต้นอย่างสวยงาม ผมจะพัฒนามันไปเรื่อย ๆ จนกว่างานนี้จะเป็นงานสำหรับดนตรีคลาสสิกและคนตรีร่วมสมัย [2]

ด้วยความช่วยเหลือทางด้านการเงินของโสตศอนาสิกแพทย์ ดร. จอร์จ แคธคาร์ท นิวแมนได้ว่าจ้างเฮนรี วูดเพื่อที่จะมาเป็นวาทยากรของคอนเสิร์ตนี้ งานนี้เรียกว่า "คอนเสิร์ตพรอมเนดของมิสเตอร์รอเบิร์ต นิวแมน" (อังกฤษ: Mr Robert Newman's Promenade Concerts) [3][4] วูดได้ก่อตั้งวง "ควีนส์ฮอลล์ออร์เคสตรา" (อังกฤษ: Queen's Hall Orchestra) เพื่อที่จะใช้ในการแสดงในคอนเสริต์พรอมเนด ถึงแม้ว่างานคอนเสิร์ตจะมีชื่อเสียงและได้รับความนิยมอย่างมาก นิวแมนก็ล้มละลายในปี 1902 และนายธนาคารอีการ์ สเปเยอร์ก็ได้เข้ามาควบคุมการเงินของคอนเสิร์ต ในปี 1914 กระแสต่อต้านเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้บีบให้สเปเยอร์พ้นจากตำแหน่งนี้ไป หลังจากการพ้นตำแหน่งของสเปเยอร์ Chappell & Co. ก็ได้ทำการควบคุมคอนเสิร์ตนี้ต่อ[5]

นิวแมนได้ทำงานเกี่ยวกับคอนเสิร์ตพรอมเนดของเขาต่อไปจดกระทั่งเขาเสียชีวิตอย่างกระทันหันในเดือนพฤศจิกายน 1926 ในขณะนั้นชื่อเสียงของวูดในฐานะผู้มีส่วนร่วมกับคอนเสิร์ตอย่างใกล้ชิดก็ได้กระจายออกไปเป็นอย่างมาก เขาได้นำบทละครต่าง ๆ มาประกอบในคอนเสิร์ตครั้งต่อ ๆ มา ในช่วงทศวรรษที่ 1920 คอนเสิร์ตได้พัฒนาเติมโตขึ้นทั้งในด้านความนิยม อีกทั้งได้มีการนำบทเพลงร่วมสมัยจากผู้ประพันธ์ในยุคนั้นอย่าง Claude Debussy, Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams มีการตั้งรูปหล่อครึ่งตัวของวูดซึ่งนำมาจากวิทยาลัยการดนตรีหลวง[6] มาไว้ที่หน้าออร์แกนตลอดฤดูกาลของงาน ซึ่งในปัจจุบันงานนี้รู้จักกันในชื่อบีบีซี พรอมส์ ข้อความบนบัตรเข้าชมนั้นก็ยังคงมีการเขียนว่า "เทศกาลดนตรีโดยบีบีซีนำเสนอคอนเสิรต์พรอมเนตของเฮนรี วูด" (อังกฤษ: BBC Music presents the Henry Wood Promenade Concerts)

ในปี 1927 หลังจากที่บีบีซีได้ตั้งที่บ้านเพื่อการกระจายภาพและเสียง (อังกฤษ: Broadcasting House) ซึ่งอยู่ถัดไปจากฮอลล์ที่จัดการแสดง ก็ได้ดูแลการแสดงคอนเสิร์ตต่อ เมื่อวงบีบีซี ซิมโฟนี ออร์เคสตรา (อังกฤษ: BBC Symphony Orchestra; BBC SO) ได้ก่อนตั้งขึ้นในปี 1930 วงนี้ก็ได้มาเป็นวงออร์เคสตราหลักในการแสดงคอนเสิร์ต ในช่วงนั้นการแสดงก็ได้อุทิศให้นักประพันธ์เพลง โดยการแสดงวันจันทร์จะอุทิศให้ริชาร์ด เวคเนอร์ วันศุกร์จะอุทิศให้บีโธเฟน และนักประพันธ์ที่โด่งดังทั้งหลาย ส่วนในวันอาทิตย์จะมีไม่มีการแสดง

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1939 บีบีซีได้ยกเลิกการสนับสนุน เดอะ พรอมส์ก็ยังคงดำเนินต่อไปภายใต้การถูกเซนเซอร์อย่างลับ จนกระทั่งควีนส์ฮอลล์ได้รับความเสียหายจากการถูกทิ้งระเบิดทางอากาศในปี 1941 (ปัจจุบันควีนส์ฮอลล์ได้กลายมาเป็นโรงพยาบาลเซนต์ จอร์จ และบ้านของเฮนรี วูดโดยบีบีซี) ในปีนั้นเดอะ พรอมส์ก็ได้ย้ายสถานที่จัดแสดงมายังที่ปัจจุบัน ซึ่งก็คือ รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ และบีบีซีก็ได้กลับมาดำเนินการดูแลคอนเสิร์ตต่อ ในปี 1944 การเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงที่รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์จะได้รับผลกระทบ ทำให้เดอะ พรอมส์ต้องย้ายสถานที่จัดการแสดงอีกครั้ง ครั้งนี้ได้ย้ายไปที่คอร์น เอกซ์เชนจ์ เบดเฟิร์ด (อังกฤษ: Corn Exchange, Bedford) และสถานที่นี้ก็ได้มาเป็นที่พักอาศัยของบีบีซี ซิมโฟนี ออร์เคสตราตั้งแต่ปี 1941 และดำเนินการแสดงจนกระทั่งสิ้นสุดสงคราม หลังจากสงครามวงออร์เคสตราอื่น ๆ ก็ได้รับเชิญให้มาเข้าร่วมในเดอะ พรอมส์ ทำให้วงบีบีซี ออร์เคสตราไม่ได้เป็นวงเดียวที่รับผิดชอบต่องานคอนเสิร์ตทั้งหมด

หลังสงคราม[แก้]

วูดได้ทำงานของเขาเกี่ยวกับเดอะ พรอมส์ต่อจนกระทั่งเขาเสียชีวิตในปี 1944 ช่วงหลังสงครามเซอร์แอดริน บอลท์ และบาซิล คาเมรอนก็ได้ทำหน้าที่ในการควบคุมการแสดงของเดอะ พรอมส์จนกระทั่งมัลคอล์ม ซาร์แกนท์ได้มาทำหน้าที่หัวหน้าวาทยากรในปี 1947 ซาร์แกนท์ได้ทำหน้าที่นี้จนกระทั่งปี 1966 วาทยากรที่ร่วมงานกับเขาตั้งแต่ปี 1949 ถึง 1959 ก็คือ จอห์น ฮอลลิงสวอร์ธ ซาร์แกนท์ได้บันทึกเกี่ยวกับการแต่งกายของเขาว่าเป็นไปอย่างสะอาดหมดจด (ชุดราตรี และดอกคาร์เนชัน) และเขาได้ใช้คำพูดอันชาญฉลาดของเขาในการว่ากล่าวผู้เข้าร่วมงานที่ทำเสียงดัง เซอร์มัลคอล์มได้ช่วยเหลือดนตรีประสานเสียงและผู้ประพันธ์ชาวอังกฤษ โดยเฉพาะซามูเอล คอเลริจ-เทย์เลอร์ เขาได้ก่อนตั้งองกรการกุศลในชื่อของเขา ซึ่งก็คือ CLIC Sagent เพื่อที่จะดำเนินการจัดคอนเสิร์ตพรอมเนดต่อหลังจากจบฤดูกาลเป็นกรณีพิเศษ CLIC Sagent และองค์กรทางดนตรีซึ่งถูกคัดเลือกในแต่ละปี เช่น กองทุนเพื่อนักดนตรีของเบเนโวเลนท์ ก็ได้รับผลประโยชน์จากเงินบริจาคนับพันปอนด์จากผู้เข้าชมงานคอนเสิร์ต เมื่อมีการพูดถึงการขอรับบริจาค ผู้เข้าชมจะบริจาคในช่วงที่พัก หรือก่อนที่คอนเสิร์ตจะเริ่ม ในกรณีที่คอนเสิร์ตนั้นไม่มีช่วงพัก

หลังจากการตายของวูด จูเลียน เฮอบาจก็ได้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเดอะ พรอมส์ต่อโดยพฤตินัยเป็นเวลาหลายปีในฐานะลูกจ้างอิสระ เนื่องจากเขาได้เกษียณจากการทำงานที่บีบีซี ด้วยความช่วยเหลือจาก เอ็ดวาร์ด คลาร์ก และเคนเนธ ไรท์[7] ระหว่างการดำรงตำแหน่งผู้ควบคุมเดอะ พรอมส์โดยวิลเลียน กลอค ตั้งแต่ปีปี 1960 เดอะ พรอมส์ได้ขยายการแสดงไปยังดนตรีร่วมสมัยจากนักประพันธ์ในสมัยนั้นอย่าง Boulez, Berio, Carter, Dallapiccola, Peter Maxwell Davies, Gerhard, Henze, Ligeti, Lutosławski, Lutyens, Maw, Messiaen, Nono, Stockhausen และ Tippett และก็ยังคงแสดงเพลงยุคเก่าจากนักประพันธ์ในอดีตอย่าง Purcell, Cavalli, Monteverdi, Byrd, Palestrina, Dufay, Dunstaple และ Machaut หรือแม้กระทั่งงานที่ไม่ค่อยได้ยินบ่อยอย่างของ Johann Sebastian Bach and Joseph Haydn[8] จากทศวรรษที่ 1960 จำนวของวงออร์เคสตรารับเชิญก็ได้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมาก วาทยากรหลักซึ่งเป็นชาวต่างชาติคนแรกคือ Leopold Stokowski, Georg Solti แลพ Carlo Maria Giulini ก็ได้ทำการควบคุมวงในปี 1963 และวงออร์เคสตราต่างชาติวงแรกอย่างวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งวิทยุมอสโกว ก็ได้ทำการแสดงในปี 1966 หลังจากนั้นเป็นต้นมาวงออร์เคสตรา วาทยากร และนักเล่นดนตรีเดี่ยวที่มีชื่อเสียงเกือบทุกวงก็ได้มาร่วมในเดอะ พรอมส์ ในปี 1970 วง Soft Machine ก็ได้เปิดแสดงเพลงจากวงป๊อปเป็นวงแรกของเดอะ พรอมส์

ตั้งแต่ปี 1990[แก้]

เดอะ พรอมส์ยังคงดำเนินมาจนถึงทุกวันนี้ และยังคงแสดงบทเพลงทั้งจากยุคใหม่และยุคก่อนหน้า มีการเพิ่มเติมงานต่าง ๆ มากมาย อย่าง คุยก่อนพรอมส์ (อังกฤษ: pre-Prom talks), คอนเสิร์ตแชมเบอร์ระหว่างเที่ยง (อังกฤษ: lunchtime chamber concerts), พรอมส์ของเด็ก ๆ (อังกฤษ: children's Proms) และพรอมส์ในสวน (อังกฤษ: Proms in the Park) ในสหราชอาณาจักรคอนเสิร์ตทั้งหมดจะได้รับการเผยแพน่ผ่านทางวิทยุบีบีซี 3 และมีการถ่ายทอดผ่านบีบีซี วัน, บีบีซี ทู, บีบีซี ทรี และ บีบีซี โฟร์ โดยทำนองธีมซึ่งเล่นในช่วงเริ่มต้นของโปรแกรมที่เผยแพร่ผ่านทางโทรทัศน์ก็นำมาจากช่วงท้ายของมูฟเมนต์ "Red" จาก A Colour Symphony ของ Arthur Bliss และเดอะ พรอมส์ก็ได้ถ่ายทอดผ่านเว็บไซต์ของบีบีซี พรอมส์ และถ่ายทอดไปหลายประเทศทั่วโลก

ในปี 1996 คอนเสิร์ตแชมเบอร์ระหว่างเที่ยงก็ได้เริ่มต้น โดยมีทั้งหมด 8 ชุด โดยแสดงในวันจันทร์ระหว่างฤดูกาลของเดอะ พรอมส์ ในปีแรกได้จัดที่บริเทนฮอลล์ (อังกฤษ: Britten Hall ของวิทยาลัยการดนตรีหลวง (มีถนนปรินซ์คอนซอร์ทคั่นอยู่กับรอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์) ในปีต่อมาก็ได้ย้ายสถานที่จัดให้ห่างออกไปเล็กน้อย โดยย้ายไปยังเฮนรี โคล ซึ่งเป็นห้องบรรยายในพิพิธภัณฑ์วิตอเรียและอัลเบิร์ต ในปี 2005 ก็ได้ทำการย้ายอีกรอบไปยังคาโดกานฮอลล์ (ใหม่) อยู่ห่างออกไปจากจัตุรัสสโลนในกรุงลอนดอนเพียงเล็กน้อย โดยการไม่ใช้สถานที่อย่างรอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์เป็นเพราะดนตรีบางชนิดไม่สามารถแสดงในโถงขนาดใหญ่อย่างรอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ได้

ตั้งแต่ปี 1998 ถึง 2007 "บลูปีเตอร์พรอม" (อังกฤษ: Blue Peter Prom) ได้เข้ามาเป็นพันธมิตรกับบีบีซีโดยได้ทำรายการระยะยาวชื่อ "บลูปีเตอร์" ซึ่งเป็นรายการที่มีขึ้นเป็นประจำทุกปี[9] โดยมีกลุ่มเป้าหมายอยู่ที่เด็ก ในงานบลูปีเตอร์พรอมนี้จะไม่เป็นทางการมีการเล่นมุกตลกและดนตรีคลาสสิกที่โด่งดัง[10] และเนื่องด้วยความต้องการบัตรเข้าชมที่มีสูง ซึ่งบลูปีเตอร์พรอมเป็นหนึ่งในพรอมที่มีราคาบัตรเข้าชมต่ำที่สุดในฤดูกาล ทำให้ถูกแบ่งออกเป็น 2 พรอมซึ่งมีเนื้อหาเฉพาะตัวในปี 2004[11] ในปี 2008 บลูปีเตอร์พรอมได้ถูกแทนที่ด้วย Doctor Who Prom ซึ่งดอกเตอร์ฮูพรอมก็ได้นำมาแสดงซ้ำอีกครั้งในฤดูกาลปี 2010 และ 2013[12]

ในฤดูกาลปี 2004 ก็ได้มีการเปิดใช้ออร์แกนที่ทำการสร้างใหม่ โดยการสร้างนี้ใช้เวลา 2 ปีใน (2002 – 2004) และเป็นผลงานของ Noel Mander, Ltd. ในกรุงลอนดอน นี่เป็นครั้งแรกที่มีการปรับปรุงเครื่องดนตรีในฮอลล์ตั้งแต่ปี 1936 ซึ่งทำโดยแฮริสัน

ในแต่ละคอนเสิร์ตจะมีที่สำหรับยืนมากกว่า 1,000 ที่ ทั้งในช่วงกลางของโถง หรือบนแกลลอรีของฮอลล์ ราคาค่าบัตรเข้าชมมีราคาเท่ากันสำหรับทุกคอนเสิร์ตสำหรับตั๋วยืน (ยังคงเป็นราคาเป็น £5 [≈ ฿270.30] ในปี 2013) ทำให้เดอะ พรอมส์เป็นคอนเสิร์ตที่มีราคาต่ำกว่างานอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียง เนื่องจากตั๋วยืนไม่สามารถซื้อล่วงหน้าได้ทางผู้จัดงานก็ยังคงหาทางให้เข้าไปร่วมงานได้[13][14]

ในปี 2010 กรุพรอมส์ได้เปิดตัวในเว็บไซต์ของบีบีซี เพื่อที่จะให้สามารถค้นหาข้อมูลเก่า ๆ ได้ ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง ในวันที่ 1 กันยายน 2011 มีการแสดงของวงอิสราเอลฟิลฮาร์โมนิกออร์เคสตราได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการประชุมของผู้สนับสนุนปาเลสไตน์[15] ในขณะที่โครงการผนวกปาเลสไตน์กำลังมีการกระตุ้นการบอยคอทท์ ซึ่งโครงการนี้ก็ได้ปฏิเสธการขัดขวางภายในรอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์ เป็นครั้งแรกที่บีบีซีได้หยุดการออกอากาศคอนเสิร์ต[16]

เดอะ พรอมส์ในฤดูกาลปี 2006–2011[แก้]

เดอะ พรอมส์ในปี 2005 ผู้คนส่วนใหญ่เลือกที่จะนั่ง ในขณะที่ผู้ควบคุมการแสดงยืนอยู่ด้านหน้าวงออร์เคสตรา โดยมีออร์แกนอยู่เบื้องหลัง

ฤดูกาลปี 2006[แก้]

ในฤดูกาลปี 2006 (ครั้งที่ 112) เป็นการฉลอง 250 ปีชาตกาลของโมซาร์ท และ 100 ปีชาตกาลของ Shostakovich ได้เริ่มมีการแสดงมหรสพในวันเสาร์ที่คาโดกานฮอลล์ และให้โอกาสผู้เข้าร่วมงานที่จะได้เข้าร่วมกับรายการ "The Voice" ในวันที่ 29 กรกฎาคม ในวันที่ 3 กันยายน 2006 คอนเสิร์ตได้ถูกยกเลิกเนื่องจากเหตุการไฟไหม้[17] และในฤดูกาลนี้ก็ได้มี "งานพรอมส์ ออร์เคสตราและครอบครัว" โดยได้ให้เด็ก ๆ และครอบครัวเขาพวกเขามีส่วนร่วมกับนักดนตรีของบีบีซี[18]

ฤดูกาลปี 2007[แก้]

ในฤดูกาลปี 2007 (13 กรกฎาคม – 8 กันยายน 2007) คอนเสิร์ตแรกเริ่มต้นด้วย Portsmouth Point ของ วอลตัน และ ซิมโฟนีหมายเลข 9 ของบีโธเฟน ในปีนั้นสำนักข่าวต่างๆ ได้ให้ความสนใจไปที่ไมเคิล บอล ซึ่งจะมาเป็นผู้แสดงหลักในคอนเสิร์ตวันที่ 27 สิงหาคม และคอนเสิร์ตเพลงประกอบภาพยนตร์ของอังกฤษในวันที่ 14 กรกฎาคม

ในปี 2007 ได้มีการฉลอง 150 ปีชาตกาลของ เอ็ดวาร์ด เอลการ์ 100 ปีการจากไปของ Edvard Grieg และ 50 ปีการจากไปของ Jean Sibelius และก็เป็นปีที่ 80 ตั้งแต่ที่บีบีซีได้มาเป็นผู้สนับสนุนหลักของเดอะ พรอมส์ โดยได้มีการแสดงเพิ่มเติมทุกวันเสาร์เป็นเวลา 4 ครั้ง สำหรับการแสดงช่วงบ่ายที่คาโดกานฮอลล์

ในฤดูกาลนี้ได้เป็นการควบคุมวงบีบีซี พรอมส์ครั้งสุดท้ายของนิโคลาส เคนยอน ก่อนที่เขาจะไปควบคุมที่บาร์บิกัน เซ็นเตอร์ตั้งแต่ตุลาคม 2007[19] และโรเจอร์ ไรท์ได้มาเป็นผู้ควบคุมเดอะ พรอมส์ในปี 2007 ในขณะที่ดูแลวิทยุบีบีซี 3 อยู่ และได้เริ่มควบคุมการออกอากาศดนตรีคลาสสิกของบีบีซี [20]

2008 season[แก้]

The 2008 season ran from 18 July to 13 September 2008. The BBC released details of the season slightly earlier than usual, on 9 April 2008.[21] Composers whose anniversaries were marked include:

The celebration of Stockhausen was centred on two large-scale concerts on 2 August 2008, and complementing Vaughan Williams's interest in folk music, the first Sunday was given over to a celebration of various aspects of British folk, including free events in Kensington Gardens and the Albert Hall, and ending with the first-ever céilidh in the Albert Hall itself.[22]

Other changes included additional pre-Prom talks and events. For the first time, there was a related talk or event before every Prom, held in the Royal College of Music. The popular family-oriented Prom this year became the Doctor Who Prom, (in place of the Blue Peter Prom of recent years).[23] The Doctor Who Prom included a mini-episode of Doctor Who, "Music of the Spheres".

Just over a month before the announcement, Margaret Hodge, a Minister of State at the Department for Culture, Media and Sport suggested "that the Proms was one of several big cultural events that many people did not feel comfortable attending" and advocated an increase in multicultural works and an effort to broaden the audience. Her comments received wide criticism in the musical world and media as being a fundamental misunderstanding of the nature of the Proms, with Gordon Brown even distancing himself from her remarks.[24]

2009 season[แก้]

In the 2009 season, which ran from 17 July to 12 September 2009, the total number of concerts reached 100 for the first time. The principal anniversary composers included:

Other composer anniversaries noted in the 2009 Proms included:

The humorist and music impresario Gerard Hoffnung was also remembered with the performance in the Last Night of Malcolm Arnold's A Grand Grand Overture, which was commissioned for the first Hoffnung Music Festival.[18] The 2009 Proms featured Bollywood music for the first time, as part of a day-long series of concerts and events also covering Indian classical music. Performers in the day included Ram Narayan, Rajan and Sajan Mishra, and Shaan.[25] Noted historical anniversaries covered in the 2009 Proms included the 75th anniversary of the MGM film musical, and the 10th year of the West-Eastern Divan Orchestra.[26][27][28] There was a child-oriented Prom to mark the Darwin bicentenary as well as a Free Family Prom including the Proms Family Orchestra.[18]

2010 season[แก้]

The 2010 Proms season ran from 16 July to 11 September. The principal anniversary composers included:

Other anniversaries of composers featured at The Proms included:

In addition, Hubert Parry and Alexander Scriabin received particular focus.[29] One day was dedicated particularly to Sir Henry Wood, including a recreation of the 1910 Last Night.[30] For families, the Doctor Who Prom, first introduced in 2008, received new renditions hosted by the newest Doctor (Matt Smith) and his companions Amy Pond (Karen Gillan) and Rory Williams (Arthur Darvill).[31][32] The booking system was also revised with a new online system to allow ticket buyers to set up a personalised Proms plan in advance to speed up the booking process.[33]

2011 season[แก้]

The 2011 Proms season began on 15 July 2011 and ran until 10 September 2011. The principal anniversary composers included:

Other anniversaries of composers featured at The Proms included:

The music of Frank Bridge also received a particular non-anniversary-related focus. Other notable performances included the first Proms performance of Havergal Brian's Symphony No. 1 ('The Gothic'), which was also the 6th live performance ever, [34] and subsequently released on a Hyperion commercial recording.[35] The 2011 Proms season also featured new works by Sally Beamish, Harrison Birtwistle, Peter Maxwell Davies, Pascal Dusapin, Graham Fitkin, Thomas Larcher, Kevin Volans, Judith Weir, and Stevie Wishart.

The 2011 Proms also featured the first ever 'Comedy Prom' hosted by comedian and pianist Tim Minchin, as well as the debut of the Spaghetti Western Orchestra.

The children's prom of 2011 was based on the CBBC television series 'Horrible Histories', and featured a number of songs from the show.

ค่ำคืนสุดท้ายแห่งเดอะพรอมส์[แก้]

ค่ำคืนสุดท้ายแห่งเดอะพรอมส์ (อังกฤษ: The Last Night of the Proms)

The Last Night of the Proms celebrates British tradition with patriotic music of the United Kingdom.[36][37]

Many people's perception of the Proms is taken from the Last Night, although this concert is very different from the others. It usually takes place on the second Saturday in September, and is broadcast in the UK on BBC2 (first half) and BBC1 (second half). The concert is traditionally in a lighter, 'winding-down' vein, with popular classics being followed by a series of British patriotic pieces in the second half of the concert. This sequence traditionally includes Edward Elgar's "Pomp & Circumstance March No. 1" (to part of which "Land of Hope and Glory" is sung), and Henry Wood's "Fantasia on British Sea Songs", which culminates in Thomas Arne's "Rule, Britannia!". However, the "Fantasia" did not feature from 2008 to 2011, [ต้องการอ้างอิง] though "Rule, Britannia!" has retained its place in the programme in its own right. The full "Fantasia" re-appeared in 2012, but was again absent from the 2013 concert. The concert concludes with Hubert Parry's "Jerusalem" (a setting of a poem by William Blake), and the British national anthem. The repeat of the Elgar March at the Last Night can be traced to the spontaneous audience demand for a double encore at its premiere at a 1901 Proms concert.[38] The closing sequence of the second half became fully established in 1954 during Sargent's tenure as chief conductor of the Proms.[39] The Prommers have made a tradition of singing "Auld Lang Syne" after the end of the concert, but it is not included in the programme. However, when James Loughran, a Scot, conducted the Last Night concert in the late 1970s and early 1980s he included the piece as part of the programme. Since 2009, "You'll Never Walk Alone", for audience participation has been included annually – a contribution made by the current Proms director, Roger Wright.

Tickets are highly sought after. Promming tickets are the same price as for other concerts during the season, but tickets for seats are more expensive. To book a seat in advance, it is necessary to have bought tickets for at least five other Proms concerts in the season to have a chance of getting a Last Night ticket, and an advance booking must include those five concerts, plus an application for a Last Night ticket. Tickets can only be purchased in an equivalent (or lower) price band to that sold for the previous tickets. Once the advance booking period ends, there is no requirement to have booked for additional concerts, but the Last Night is generally sold out by this time, though returns may be available. For standing places, a full season pass automatically includes admission to the Last Night; day Prommers need to present five ticket stubs from concerts previously attended at the box office to qualify to purchase a standing Last Night ticket, either in the Arena or the Gallery. (Prior to 2009, the requirement was for six concerts in addition to the Last Night when purchasing a ticket in advance, though this has remained at five since then.)

In recent years, a quantity of Arena standing tickets for the Last Night have been available for purchase on the day itself, with no requirement for having attended any previous concerts. These are sold on a 'first-come first-served' basis to those who are prepared to queue on the day itself.[40] In the post-War period, with the growing popularity of the "Last Night", the only way to obtain tickets was through a postal ballot system where prospective buyers submitted an application well in advance, along with a stamped and addressed reply envelope. The lucky ones received their tickets by return. A ballot now exists annually for the chance for individuals to purchase a maximum of two tickets from a special allocation of 100 stalls seats for the Last Night.[40]

Prommers with tickets are likely to queue up much earlier than usual (many overnight, and in past years, some slept outside the hall for up to three weeks beforehand to guard their place in the queue – though this is no longer permitted) to ensure a good place to stand in the hall, the resulting camaraderie adds to the atmosphere. Fancy dress is an optional extra: from dinner jackets to patriotic T-shirts. Many use the occasion for an exuberant display of Britishness. Union Flags are carried and waved by the Prommers, especially during "Rule, Britannia!".

Flags, balloons and party poppers are all welcomed – though John Drummond famously discouraged this 'extraneous noise' during his tenure as Director of the Proms. Sir Henry Wood's bust is adorned with a laurel chaplet by representatives of the Promenaders, who often wipe an imaginary bead of sweat from his forehead or make some similar gentle visual joke. Since 2006, the cost of standing place tickets has remained at just £5.00. Many people consider these tickets to be the best ones due to the atmosphere of standing in the concert hall for up to 3 hours, albeit with a 20-minute interval.

Another tradition of the Last Night is that near the end of the concert the conductor makes a speech thanking the musicians and audiences, mentioning the main themes covered through the season, noting the cumulative donations collected by the Promenaders' Musical Charities over the season, and announcing the date of the First Night of the Proms for the following year. The tradition of the Last Night Speech dates from 1941, when Sir Henry Wood gave the first such speech at the close of that Proms season, the first at the Royal Albert Hall, where he thanked colleagues and sponsors. Wood gave another similar speech of thanks at the 1942 Last Night, and a pre-recorded version was aired to the audience at the 1943 Last Night. During his tenure as conductor of the Proms, Sir Malcolm Sargent established the tone of making the Last Night speeches more humorous in nature. Subsequent conductors at the Last Night have generally continued this tradition, although one exception was in 1997 when Sir Andrew Davis more seriously addressed the deaths of Diana, Princess of Wales, Mother Teresa, and Sir Georg Solti in his 1997 Last Night speech.[41]

The Royal Albert Hall could be filled many times over with people wishing to attend the Last Night. To accommodate these people, and to cater for those who are not near London, the Proms in the Park concerts were started in 1996. Initially there was only one, in Hyde Park, adjacent to the Hall. More locations have been added in recent years, and in 2005, Belfast, Glasgow, Swansea and Manchester hosted a Last Night Prom in the Park which was broadcast live from each venue. 2007 saw Manchester's prom being replaced by one in Middlesbrough. 2008 featured a reduction from 5 to 4 Proms in the Park, in Hyde Park, Belfast, Glasgow and Swansea. 2009 returned to a total of 5 Proms in the Park, in Hyde Park, Glasgow, Swansea, County Down and Salford. Each location has its own live concert, typically playing the countries' respective national anthems, before joining in a live big screen video link up with the Royal Albert Hall for the traditional finale.

Leonard Slatkin, chief conductor of the BBC Symphony Orchestra from 2000–2004, expressed a desire to tone down the nationalism of the Last Night somewhat, and on the Last Night of the seasons from 2002 until 2007 "Rule Britannia" has only been heard as part of Henry Wood's '"Fantasia on British Sea Songs" (another piece traditional to the Last Night) rather than separately. Slatkin, an American and the first non-Commonwealth citizen to lead the Last Night, conducted his first Last Night in 2001, just days after the 9/11 attacks. The atmosphere was more restrained and less festive than normal, with a heavily revised programme where the finale of Beethoven's 9th Symphony replaced the "Sea Songs", and Samuel Barber's "Adagio for Strings" was performed in tribute to the victims of the attacks.[42]

On the day of the 2005 Last Night, the hall management received word of a bomb threat, which led to a thorough search of the Albert Hall for 5 hours, but the concert took place with a modest time delay. This has led to increased security concerns, given the stature of the Last Night in British culture, which Jacqui Kelly of the Royal Albert Hall staff noted:

"That was quite a nerve-wracker—our biggest event, the one everybody knows the Albert Hall for, and we were in real danger of losing it. We're an iconic thing, up there in the public eye, so we have to expect that."[43]

2008 also contained some departures from the traditional programme. "Pomp and Circumstance March No 1" was moved to after the conductor's speech. In addition, most of Wood's "Fantasia on British Sea Songs" was replaced by Vaughan Williams's Sea Songs as a final tribute in his anniversary year. However, Wood's arrangements of naval bugle calls from the start of the "Fantasia" were retained, and Sargent's arrangement of "Rule Britannia" returned with Bryn Terfel as soloist. As on his 1994 Last Night appearance, [44] he sang one verse in a Welsh translation, with the chorus also translated into Welsh.

2009 saw the continued absence of Wood's Sea Songs, this time replaced by specially commissioned fanfares, and extracts from Handel's "Music for the Royal Fireworks".[45][46] In 2009, for the first time, the Last Night was shown live in several cinemas across Asia and in Canada and Australia.[47]

Last Night conductors[แก้]

The following table lists by year the conductors of the Last Night of the Proms. Normally, the Chief Conductor of the BBC Symphony Orchestra leads this concert, but guest conductors have directed the Last Night on several occasions. In 2013, Marin Alsop was the first female conductor in its 118-year history.[48] The festival, which began on 12 July, included 75 concerts at the Royal Albert Hall and four across the UK.

Conductor Last Night (s) ...2
19th c.–1940s 1950s 1960s 1970s 1980s 1990s 2000s 2010s
Sir Henry Wood 3 1895–1939, 1941–1943 2 rowspan="4" ! rowspan = "4" ! rowspan = "5" ! rowspan = "6" ! rowspan = "13" ! rowspan = "12"
Sir Adrian Boult 1945, 1946 1 7
Basil Cameron 1945 7
Constant Lambert
Sir Malcolm Sargent 1947–1966
Colin Davis 4 1967–1969 1970–1972
Norman Del Mar 1973, 1975 19831
Sir Charles Groves 1974, 1976, 19781
James Loughran 1977, 1979 1981, 1982, 19841
Sir Charles Mackerras 19801
Vernon Handley 19851
Raymond Leppard 19861
Mark Elder 1987 20061 5
Sir Andrew Davis 6 1988 1990–1992, 1994–20001
Sir John Pritchard 1989 rowspan="1"
Barry Wordsworth 19931
Leonard Slatkin 2001–2004
Paul Daniel 20051
Jiří Bělohlávek 2007 2010, 2012
Sir Roger Norrington 20081
David Robertson 20091 8
Edward Gardner 20111
Marin Alsop 20131
  • ^1 Duties undertaken as Guest Conductor, rather than as resident Chief Conductor, BBC Symphony Orchestra
  • ^2 The seasons of 1940 and 1944 were curtailed by German bombing, so there was no official "Last Night", Wood died shortly before what should have been the end of the 1944 season
  • ^3 Sir Henry from 1911 onwards
  • ^4 Later Sir Colin
  • ^5 Later Sir Mark
  • ^6 Sir Andrew from 1994 onwards
  • ^7 Constant Lambert, Basil Cameron and Sir Adrian Boult jointly undertook proceedings upon the return in 1945
  • ^8 Robertson has been Principal Guest Conductor of the BBC SO since 2005

See also[แก้]

ฤดูกาลของเดอะ พรอมส์[แก้]

ลำดับ ฤดูกาล วันเริ่มต้น (คืนแรก) วันสิ้นสุด (คืนสุดท้าย) สถานที่ จำนวนพรอมส์
1 1895 วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
2 1896 วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 37
3 1897 วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 43
4 1898 วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 43
5 1899 วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
6 1900 วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 67
7 ฤดูร้อน 1901 วันเสาร์ที่ 24 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 67
7a ฤดูหนาว 1901/02 วันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม วันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 33
8 1902 วันเสาร์ที่ 23 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 67
9 1903 วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม วันศุกร์ที่ 23 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 54
10 1904 วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม วันศุกร์ที่ 21 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 66
11 1905 วันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 60
12 1906 วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 60
13 1907 วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
14 1908 วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
15 1909 วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
16 1910 วันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
17 1911 วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
18 1912 วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
19 1913 วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
20 1914 วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
21 1915 วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
22 1916 วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
23 1917 วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
24 1918 วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
25 1919 วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
26 1920 วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
27 1921 วันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
28 1922 วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
29 1923 วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
30 1924 วันเสาร์ที่ 9 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
31 1925 วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 61
32 1926 วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 16 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 55
33 1927 วันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 37
34 1928 วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 6 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
35 1929 วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
36 1930 (ภาคเหนือ) วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม วันเสาร์ที่ 21 มิถุนายน ฟรีเทรดฮอลล์, แนนเชสเตอร์
ฟิลฮาร์มอนิค, ลิเวอร์พูล
ทาวน์ฮอลล์, ลีดส์
24
36a 1930 (ลอนดอน) วันเสาร์ที่ 9 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 4 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
37 1931 วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 48
38 ฤดูร้อน 1932 วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
38a ฤดูร้อน 1932/33 วันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 13
39 1933 วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 7 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
40 ฤดูร้อน 1934 วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 6 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
40a ฤดูหนาว 1934/35 วันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม วันเสาร์ที่ 12 มกราคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 12
41 ฤดูร้อน 1935 วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
41a ฤดูหนาว 1935/36 วันจันทร์ที่ 30 ธันวาคม วันเสาร์ที่ 11 มกราคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 12
42 1936 วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
43 1937 วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
44 1938 วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 49
45 1939 วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 1 กันยายน ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 17.5
46 1940 วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม วันเสาร์ที่ 7 กันยายน ควีนส์ฮอลล์, ลอนดอน 25
47 1941 วันเสาร์ที่ 12 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 23 สิงหาคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 37
48 1942 วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
49 1943 วันเสาร์ที่ 19 มิถุนายน วันเสาร์ที่ 21 สิงหาคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 55
50 1944 วันเสาร์ที่ 10 มิถุนายน Thursday 29 มิถุนายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 17
51 1945 วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
52 1946 วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 21 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
52a ฤดูหนาว 1947 วันจันทร์ที่ 6 มกราคม วันเสาร์ที่ 18 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 12
53 ฤดูร้อน 1947 วันเสาร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
53a ฤดูร้อน 1948 วันจันทร์ที่ 5 มกราคม วันเสาร์ที่ 17 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 12
54 ฤดูร้อน 1948 วันเสาร์ที่ 24 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 18 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
54a ฤดูหนาว 1949 วันจันทร์ที่ 10 มกราคม วันเสาร์ที่ 22 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 12
55 ฤดูร้อน 1949 วันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
55a ฤดูหนาว 1950 วันจันทร์ที่ 9 มกราคม วันเสาร์ที่ 21 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 12
56 ฤดูร้อน 1950 วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
56a ฤดูหนาว 1951 วันจันทร์ที่ 8 มกราคม วันเสาร์ที่ 20 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 12
57 ฤดูร้อน 1951 วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 22 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
58 ฤดูหนาว 1952 วันจันทร์ที่ 7 มกราคม วันเสาร์ที่ 19 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 12
58a 1952 วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 20 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
59 1953 วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 19 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
60 1954 วันเสาร์ที่ 24 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 18 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
61 1955 วันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 17 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
62 1956 วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
63 1957 วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
64 1958 วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 20 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
65 1959 วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 19 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
66 1960 วันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 17 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
67 1961 วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
68 1962 วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
69 1963 วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
70 1964 วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 19 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
71 1965 วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 49
72 1966 วันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 17 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 50
73 1967 วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 51
74 1968 วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 52
75 1969 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 52
76 1970 วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 12 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 53
77 1971 วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 18 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 54
78 1972 วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 57
78a ฤดูหนาว 1972/73 วันศุกร์ที่ 29 ธันวาคม วันศุกร์ที่ 5 มกราคม รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 8
79 1973 วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 55
80 1974 วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 55
81 1975 วันศุกร์ที่ 25 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 20 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 57
82 1976 วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 56
83 1977 วันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 17 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 55
84 1978 วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 55
85 1979 วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 54
86 1980 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 57
87 1981 วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 12 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 56
88 1982 วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 57
89 1983 วันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 17 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 57
90 1984 วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 59
91 1985 วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 60
92 1986 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 60
93 1987 วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 12 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 66
94 1988 วันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 17 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 69
95 1989 วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 68
96 1990 วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 66
97 1991 วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 67
98 1992 วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 12 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 66
99 1993 วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 67
100 1994 วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 10 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 68
101 1995 วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 16 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 70
102 1996 วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 72
103 1997 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 73
104 1998 วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 12 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 73
105 1999 วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 72
106 2000 วันศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 9 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 72
107 2001 วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 15 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 73
108 2002 วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 14 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 73
109 2003 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 73
110 2004 วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 74
111 2005 วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 10 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 74
112 2006 วันศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 9 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 73
113 2007 วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 8 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 72
114 2008 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 76
115 2009 วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 12 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 76
116 2010 วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 11 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 76
117 2011 วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 10 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 74
118 2012 วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 8 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 76
119 2013 วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 7 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน 75
120 2014 วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม วันเสาร์ที่ 13 กันยายน รอยัลอัลเบิร์ตฮอลล์, ลอนดอน N/A

ครึ่งหลังขอบคอนเสิร์ตที่ 18 และคอนเสิร์ตที่เหลืออีก 31 คอนเสิร์ต (19–49) ของฤดูกาลปี 1940 (วันเสาร์ที่ 2 กันยายน – วันเสาร์ที่ 7 ตุลาคม) ถูกยกเลิกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 2

คอนเสิร์ตที่ 26 – 49 ของฤดูกาลปี 1941 (วันเสาร์ที่ 8 กันยายน – วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม) ถูกยกเลิกเนื่องจากการถูกโจมตีทางอากาศอย่างต่อเนื่องระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2

คอนเสิร์ตที่ 18 – 55 (วันศุกร์ที่ 30 มิถุนายน – วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม) ของฤดูกาลปี 1944 ถูกยกเลิกเนื่องจากถูกระเบิด 'Doodle Bugs' ลงในกรุงลอนดอนช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2

Proms Controllers[แก้]

References[แก้]

  1. Jiří Bělohlávek, สุนทรพจน์จากค่ำคืนสุดท้ายแห่งเดอะพรอมส์ ในปี 2007, 8 กันยายน 2007
  2. Ivan Hewett (12 กรกฎาคม 2007). "The Proms and the Promenerders". The Daily Telegraph. London. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2008.
  3. Peter Mullen. "Everyone knows Henry Wood set up the Proms. But who remembers the man who hired him to do it?". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2009.
  4. John Smith. "Encore for the Proms". Manchester Evening News. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2009.
  5. Jacobs, Arthur (2004). "Wood, Sir Henry Joseph (1869–1944)". Oxford Dictionary of National Biography. Oxford University Press. doi:10.1093/ref:odnb/37001. สืบค้นเมื่อ 10 January 2000. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. Sir Henry Wood Collection. Bronze bust by Donald Gilbert, 1936. Royal Academy of Music. Retrieved 2 September 2012.
  7. Doctor, Jenny (2008). "The Parataxis of "British Musical Modernism"". The Musical Quarterly. 91 (1–2): 89–115. doi:10.1093/musqtl/gdn031. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2010.
  8. Bayan Northcott. "Small ripples in a calm sea: As the 100th season of Henry Wood Proms sails into port, Bayan Northcott wonders if the programming is running out of steam". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2010.
  9. BBC Proms Guide 2007. BBC. 2007. ISBN 978-1-84607-256-7.
  10. Lasserson, David. ,1269954, 00.html "Blue Peter Proms". The Guardian. UK. {{cite news}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  11. BBC Press Office. "Blue Peter presenters perform at the Proms". สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2007.
  12. Fisher, Neil. "The Proms have been innovating ever since 1895". The Times. UK. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2009.
  13. "What is promming?". BBC. 2010. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2010.
  14. "How to book/buy tickets". BBC. 2010. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2010.
  15. Andrew Hough and Andy Bloxham "Proms: Palestinian protest at Royal Albert Hall forces BBC to abandon live broadcast", The Daily Telegraph, 2 September 2011
  16. Marcus Dysch "Anti-Israel protesters disrupt BBC Proms", The Jewish Chronicle, 2 September 2011
  17. "Proms resume after fire at venue". BBC News Online. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2007.
  18. 18.0 18.1 18.2 BBC Proms Guide 2009. BBC. 2009. ISBN 978-1-84607-788-3.
  19. Higgins, Charlotte. ,2019515, 00.html "Proms chief takes over at Barbican". The Guardian. UK: Guardian Media Group. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2007. {{cite news}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  20. "Radio 3 Controller to run the BBC Proms". BBC press release CF2/VB. BBC Online. สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2007.
  21. "BBC Proms homepage". BBC Proms website. BBC. 2008. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2008.
  22. Jessica Duchen. "BBC Proms: Everything you wanted to know (but were afraid to ask)". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2008.
  23. Ciar Byrne. "Doctor Who makes his debut at the Proms". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2008.
  24. Philip Webster. "Margaret Hodge in hot water after Proms attack". The Times. London. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2008.
  25. "Britain's Proms go Bollywood". Google News. Agence France-Presse. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 เมษายน 2009. สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2009.
  26. Hoyle, Ben. "Goldie features in 2009 Proms programme". The Times. UK. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2009.
  27. Fisher, Neil. "The verdict on the 2009 Proms programme". The Times. UK. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2009.
  28. Higgins, Charlotte. "Bollywood comes to the Proms—Sounds of India and music for vacuum cleaners both feature in the Proms' bold 114th season". The Guardian. UK. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2009.
  29. "BBC Proms 2010: Parry and Scriabin spotlights". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2010.
  30. "BBC Proms 2010: celebrating Henry Wood". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2010.
  31. "Saturday 24 July 2010". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2010.
  32. "Sunday 25 July 2010". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2010.
  33. Higgins, Charlotte. "The 2010 BBC Proms unveiled". The Guardian. London. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2010.
  34. Andrew Clements. "Prom 4: Gothic Symphony – review". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2012.
  35. Fiona Maddocks. "Havergal Brian: Symphony No 1 ('The Gothic') – review". The Observer. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2012.
  36. "The Last Night". BBC Proms website. BBC. 2008. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2008.
  37. Hamilton, James (2008). "Last Night of the Proms brought to a rousing finale with patriotic splendour". Sunday Herald. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2008.
  38. Colin Matthews. ,25342-2648022, 00.html "The evolution of the Proms". The Times Literary Supplement. London. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2008. {{cite news}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  39. Cannadine, David (พฤษภาคม 2008). "The 'Last Night of the Proms' in historical perspective". Historical Research. 81 (212): 315–349. doi:10.1111/j.1468-2281.2008.00466.x. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2009.
  40. 40.0 40.1 "How to Book / Last Night Booking". BBC. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2009.
  41. Robert Cowan/Edward Seckerson. "Last Saturday saw the Last Night of the Proms and the first night of the Royal Opera's exile at the Barbican. Robert Cowan and Edward Seckerson were at the respective venues..." The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2009.
  42. Andrew Clements. "Prom 72/ Last Night of the Proms". The Guardian. London. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2008.
  43. Michael Church (28 สิงหาคม 2006). "How to put on a Prom". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2008.
  44. Teldec 4509-97868-2 CD, "Last Night of the Proms (The 100th Season) ", 1994.
  45. "Prom 76: Last Night of the Proms". BBC. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2009.
  46. Roger Wright. "About the Proms / Questions to Roger Wright—Last Night of the Proms & Sea Shanties". BBC.
  47. "Last Night of the Proms to go live at cinemas worldwide". The Guardian. London. Press Association. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2009.
  48. "BBC Proms appoints first female director for Last Night", 18 April 2013. online at bbc.co.uk. Retrieved 18 September 2013

External links[แก้]

แม่แบบ:Members of the European Festival Association

แม่แบบ:Use British English