ผู้ใช้:Thame-tarm

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เดมส์-ไทม์
Thame-tarm
วันเกิด26 มกราคม 2526
เพศชาย
สรรพนามเรา/คุณ/เขา
สถานที่อยู่วิกิพีเดียภาษาไทย
เริ่มเขียน4 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 (37 ปี)
สิ่งที่สนใจประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง กฎหมาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ราชวงศ์ ประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น ฯลฯ
ความตั้งใจเขียน แก้ไขเพิ่มเติม และปรับปรุงบทความ
ระดับทักษะชาววิกิพีเดีย

ลำดับชั้นภรรยาของพระมหากษัตริย์[แก้]

ลำดับ พระอิสริยยศ ศักดินา พระนามาภิไธย พระนาม หรือชื่อ หมายเหตุ
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
พระอัครมเหสี พระบรมราชินีนาถ Her Majesty Queen 100,000 สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ พระอัครมเหสีที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชินี Her Majesty Queen 100,000 สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี เฉลิมพระนามโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี[1]
(1 มกราคม พ.ศ. 2466 – 15 กันยายน พ.ศ. 2468)
ลดพระอิสริยยศเป็นพระวรราชชายา
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
(5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 – 5 ธันวาคม พ.ศ. 2499)
สถาปนาเป็นพระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
พระราชินี Queen สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์
(28 เมษายน – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493)
พระอัครมเหสีที่พระมหากษัตริย์ยังไม่ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
สมเด็จพระราชินีสุทิดา
(1 – 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2562)
พระมเหสี พระบรมราชเทวี Her Majesty Queen 100,000 สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์
(หลังทิวงคต; 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2423)
สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี
(หลังทิวงคต; พ.ศ. 2423)
ที่พระอัครมเหสี
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
พระบรมอัครราชเทวี Her Majesty Queen 100,000 สมเด็จพระนางเธอ พระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดี ในที่สมเด็จพระนางนาฏบรมอัครราชเทวี
(2 มกราคม พ.ศ. 2395 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2395)
ที่พระอัครมเหสี ปัจจุบันออกพระนามาภิไธยว่า สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี
พระอัครราชเทวี Her Majesty Queen 50,000 สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี
(15 กันยายน พ.ศ. 2438 – 4 เมษายน พ.ศ. 2440)
ในฐานะพระราชมารดาของสยามมกุฎราชกุมาร เสมอด้วยพระบรมราชเทวี
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี สถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชเทวี พระวรราชเทวี Her Royal Highness, Princess
the Royal Consort
มีกรม 50,000
ไม่มีกรม 30,000
พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี
(พ.ศ. 2423 – 15 กันยายน พ.ศ. 2438)
สถาปนาเป็นพระอัครราชเทวี
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
พระราชเทวี Her Royal Highness, Princess
the Royal Consort
มีกรม 50,000
ไม่มีกรม 30,000
พระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระราชเทวี
(พ.ศ. 2421 – 12 สิงหาคม พ.ศ. 2423)
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระราชเทวี
(12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2424)
สถาปนาเป็นพระบรมราชเทวี
พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระราชเทวี
(พ.ศ. 2422 – พ.ศ. 2423)
สถาปนาเป็นพระวรราชเทวี
พระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี
(30 มิถุนายน พ.ศ. 2424 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2469)
สถาปนาเป็นพระอัครราชเทวี
พระนางเธอ พระนางเธอ Her Royal Highness, Princess
the Royal Consort
มีกรม 20,000
ไม่มีกรม 15,000
พระนางเธอ พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์
(พ.ศ. 2419 – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423)
สมเด็จพระนางเธอสุนันทากุมารีรัตน์
(หลังทิวงคต; 4 มิถุนายน พ.ศ. 2423 – 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2423)
สถาปนาเป็นพระบรมราชเทวี
พระนางเธอ พระองค์เจ้าสุขุมาลมารศรี
(15 กันยายน พ.ศ. 2420 – 30 มิถุนายน พ.ศ. 2424)
สถาปนาเป็นพระราชเทวี
พระนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี
(พ.ศ. 2421 – พ.ศ. 2422)
สถาปนาเป็นพระราชเทวี
พระนางเธอ ลักษมีลาวัณ
พระอรรคชายาเธอ พระอรรคชายาเธอ Her Highness, Princess
the Royal Consort
15,000 พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
(พ.ศ. 2416 – 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2430)
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
(หลังสิ้นพระชนม์)
20,000 พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าอุบลรัตนนารีนาค
(พ.ศ. 2416 – 25 มิถุนายน พ.ศ. 2431)
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา
20,000 พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าสาย
(พ.ศ. 2421 – 25 มิถุนายน พ.ศ. 2431)
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมขุนสุทธาสินีนาฏ
พระราชชายา พระวรราชชายา Her Highness, Princess
the Royal Consort
พระวรราชชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี[2]
(10 มิถุนายน พ.ศ. 2465 – 1 มกราคม พ.ศ. 2466)
สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา
สถาปนาเป็นพระบรมราชินี
ภายหลังลดพระอิสริยยศเป็นพระวรราชชายา
หม่อมเจ้ารำไพพรรณี พระวรราชชายา
(26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469)
พระอัครมเหสีแต่เดิมที่พระมหากษัตริย์ยังไม่ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระราชชายา Her Highness, Princess
the Royal Consort
เจ้าดารารัศมี พระราชชายา
พระสนมเอก เจ้าคุณพระ Her Excellency,
the Royal Noble Concubine
เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) สถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เจ้าคุณพระสินีนาฏ พิลาสกัลยาณี
สถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว[3]
เจ้าคุณจอมมารดา Her Excellency,
the Royal Concubine
เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4
(20 กันยายน พ.ศ. 2428 – 13 เมษายน พ.ศ. 2447)
สถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในรัชกาลที่ 4 สถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5
(พ.ศ. 2447 – พ.ศ. 2464)
สถาปนาเป็นเจ้าคุณพระ
เจ้าจอมมารดา Her Excellency,
the Royal Concubine
เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1
เจ้าจอมมารดาเรียม ในรัชกาลที่ 2
(พ.ศ. 2352 – พ.ศ. 2369)
สถาปนาเป็นกรมสมเด็จพระศรีสุลาลัย
เจ้าจอมมารดาทรัพย์ ในรัชกาลที่ 3
เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4
เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5
เจ้าจอม Her Excellency,
the Royal Concubine
เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1
เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5
เจ้าจอมสุวัทนา ในรัชกาลที่ 6
(10 สิงหาคม พ.ศ. 2467 – 11 ตุลาคม พ.ศ. 2468)
สถาปนาเป็นพระวรราชเทวี
พระ Her Excellency,
the Royal Concubine
พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)
พระอินทราณี (ประไพ สุจริตกุล)[4]
(12 มกราคม – 10 มิถุนายน พ.ศ. 2465)
สถาปนาเป็นพระวรราชชายา
พระสนมโท เจ้าจอมมารดา Her Excellency,
the Second-Class Female Attendant
เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ในรัชกาลที่ 4 รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี
เจ้าจอม Her Excellency,
the Second-Class Female Attendant
เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5
พระสนมตรี เจ้าจอมมารดา Her Excellency,
the Third-Class Female Attendant
เจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4 รับพระราชทานหีบหมากทองคำ
เจ้าจอม Her Excellency,
the Third-Class Female Attendant
เจ้าจอมสว่าง ในรัชกาลที่ 5

พระบรมวงศานุวงศ์ไทย (พ.ศ. 2564)[แก้]

พระบรมวงศ์[แก้]

ลำดับ พระบรมฉายาลักษณ์/พระฉายาลักษณ์/พระรูป/รูป พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย/พระนาม/นาม ตราประจำพระองค์/ตราประจำตัว
1
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
2
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
3
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
4
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
5
สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
6
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
7
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา
8
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา
9
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิริวิบูลยราชกุมาร
10
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
11
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
12
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ
13
เจ้าคุณพระสินีนาฏ พิลาสกัลยาณี
14
ท่านผู้หญิงพลอยไพลิน เจนเซน
15
ท่านผู้หญิงสิริกิติยา เจนเซน
16
ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม

บาทบริจาริกาในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว[แก้]

ลำดับ รูป ชื่อ-สกุล
1
พลตรีหญิง คุณหญิงสุทัตตาภักดิ์ บริรักษ์ภูมินทร์
2
พันโทหญิง วราภรณ์ สิริวชิรภักดิ์
3
พันโทหญิง ภรณ์ทิพย์ สิริวชิรภักดิ์
4
พันโทหญิง ปภัสสร สิริวชิรภักดิ์
5
พันโทหญิง ฐานิดา สิริวชิรภักดิ์
6
พันโทหญิง สังวาลย์ สิริวชิรภักดิ์
7
พันโทหญิง ศศธร สิริวชิรภักดิ์
8
พันตรีหญิง ปรางหวาน สิริวชิรภักดิ์
9
พันตรีหญิง ภัทรียา สิริวชิรภักดิ์
10
พันตรีหญิง อรอนงค์ สิริวชิรภักดิ์
11
พันตรีหญิง กรองทอง สิริวชิรภักดิ์
12
พันตรีหญิง อนุสรา สิริวชิรภักดิ์
13
พันตรีหญิง นววรรณ สิริวชิรภักดิ์
14
พันตรีหญิง สุรีรัตน์ สิริวชิรภักดิ์
15
พันตรีหญิง สิริกานดา ทิพยวชิราภักดิ์
16
ว่าที่พันตรีหญิง ชยุตรา สิริวชิรภักดิ์

เรื่อง ตราประจำพระองค์ในประเทศไทย[แก้]


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

[ก]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
(สุจาริณี)
 

[ข]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

[ค]
 
 

[ค]
 
 

[ค]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

สิ่งที่ควรจะแก้ไข[แก้]

  1. แก้ไขให้พื้นที่สีขาวด้านในเส้นขอบชั้นนอกสีน้ำตาล มีระยะพื้นที่ห่างเท่า ๆ กัน
  2. เพิ่มเส้นขอบด้านนอกต่อจากเส้นสีขาวออกไปด้วยสีแสด เพื่อเพิ่มความโดดเด่น และความชัดเจนของภาพตรา
  3. 3.0 3.1 3.2 แก้ไขในส่วนของสีบนพระจุลมงกุฎ เส้นสีน้ำตาลควรแก้ให้เป็นเส้นสีแดง

ข้อมูลของตราปรมาภิไธยย่อแต่ละพระองค์[แก้]

  • พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 อักษร จ.ป.ร. มี ?? ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี ยังไม่มีข้อมูลของสีบนอักษร จ.ป.ร.
  • พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 อักษร อ.ป.ร. มี ?? ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร อ. เป็นสีเขียว อักษร ป. เป็นสีเขียวอ่อน และอักษร ร. เป็นสีเขียว
         
  • พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 อักษร จ.ป.ร. มีเลข ๓ ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร จ.ป.ร. ทั้งหมดเป็นสีเหลืองทอง
         
  • พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 อักษร ม.ป.ร. มีเลข ๔ ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร ม.ป.ร. ทั้งหมดเป็นสีแสด
         
  • พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 อักษร จ.ป.ร. มีเลข ๕ ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร จ. เป็นสีชมพู อักษร ป. เป็นสีน้ำเงิน อักษร ร. เป็นสีเหลืองทอง
         
  • พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 อักษร ว.ป.ร. มีเลข ๖ ใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร ว.ป.ร. ทั้งหมดเป็นสีเหลืองทอง มีพื้นหลังเป็นวงกลมสีม่วงอยู่ด้านหลังอักษร ว.ป.ร.
             
  • พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 อักษร ป.ป.ร. มีเลข ๗ ใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อักษร ป. เป็นสีเหลืองทอง อักษร ป. เป็นสีเขียว อักษร ร. เป็นสีเหลืองทอง
         
  • พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 อักษร อ.ป.ร. มีเลข ๘ ใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อักษร อ. เป็นสีแดง อักษร ป. เป็นสีเหลือง อักษร ร. เป็นสีฟ้า
         
  • พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 อักษร ภ.ป.ร. มีเลข ๙ อุณาโลม ใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร ภ. เป็นสีเหลือง อักษร ป. เป็นสีน้ำเงิน อักษร ร. เป็นสีขาว
         
  • พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 อักษร ว.ป.ร. มีเลข ๑๐ ใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี อักษร ว. เป็นสีขาว อักษร ป. เป็นสีเหลือง อักษร ร. เป็นสีฟ้า
         
  1. "พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาพระอิสริยยศ พระวรราชชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี เป็นสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 39 (ตอน 0 ก): หน้า 539. 1 มกราคม 2465. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาพระวรราชชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 39 (ตอน 0 ก): หน้า 56. 12 มิถุนายน 2465. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. อย่างไรก็ตาม ไม่มีการประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นพระสนมเอก
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานบรรดาศักดิ์ฝ่ายใน, เล่ม 38, ตอน ง, 15 มกราคม 2464, หน้า 3021