ผู้ใช้:Phromkham/ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Broader บรรทัดที่ 30: attempt to call field '_formatLink' (a nil value)

หน่วยฐาน SI
สัญลักษณ์ ชื่อ ปริมาณ
A แอมแปร์ กระแสไฟฟ้า
K เคลวิน อุณหภูมิพลหวัติ
s วินาที เวลา
m เมตร ความยาว
kg กิโลกรัม มวล
cd แคนเดลา ความเข้มของการส่องสว่าง
mol โมล ปริมาณของสาร
มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ ไลบีเรีย, พม่า และสหรัฐอเมริกา

บทนำ[แก้]

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI ย่อมาจากภาษาฝรั่งเศษ คำว่า Système international (d'unités)) เป็นรูปแบบที่ทันสมัยของระบบเมตริก และยังเป็นระบบการวัดที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ประกอบด้วยระบบหน่วยวัดที่มีสอดคล้องกัน สร้างขึ้นจากหน่วยฐาน 7 หน่วย ได้แก่ แอมแปร์ เคลวิน วินาที เมตร กิโลกรัม แคนเดลา และโมล และชุดของคำนำหน้าหน่วยหรือคำอุปสรรค จำนวน 20 คำ เพื่อใช้แทนค่าพหุคูณหรือเศษส่วนของหน่วย ระบบนี้ยังระบุถึงหน่วยอนุพัทธ์ อีก 22 หน่วย เช่น ลูเมน และวัตต์ สำหรับปริมาณทางกายภาพทั่วไปอื่น ๆ

หน่วยฐานเป็นค่าคงที่ของธรรมชาติ เช่น ความเร็วแสง และจุดร่วมสามของน้ำ ซึ่งสามารถสังเกตและวัดได้อย่างแม่นยำจากแบบจำลองต้นแบบระหว่างชาติของปริมาณนัั้น ๆ เช่น มวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีลักษณะเป็นทรงกระบอกสร้างขึ้นจากโลหะเจือของแพลทินัม - อิริเดียม ซึ่งปกติจะมีมวลเท่ากับน้ำที่จุดเยือกแข็งปริมาณ 1 ลิตร แต่ทั้งนี้เสถียรภาพของการนิยามหน่วยเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงอย่างมาก จึงได้มีความพยายามที่จะเสนอเพื่อแก้ไขคำนิยามของหน่วยฐานทั้งหมดแง่ของค่าคงที่ตามธรรมชาติ และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[ต้องการอ้างอิง] และยังมีหน่วยอนุพัทธ์เป็นหน่วยที่ถูกนิยามขึ้นจากหน่วยฐานอื่น ๆ ซึ่งถูกนำมาใช้เพื่อความสะดวกในการวัดปริมาณที่หลากหลาย

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาระบบหน่วยวัดให้มีความแม่นยำมากขึ้นโดยผ่านข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึงหน่วยที่ได้รับการนิยามล่าสุดคือ คาทัล ที่ถูกนิยามขึ้นใน พ.ศ. 2542

ความน่าเชื่อถือของระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศไม่ได้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานการวัดของหน่วยฐานที่มีความแม่นยำในแง่ของค่างคงที่ตามธรรมชาติทางกายภาพเพียงเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความละเอียดของค่าคงที่เหล่านั้นด้วย ชุดของค่าต้นแบบที่ถูกแก้ไขมห้มีเสถียรภาพมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ในปี่ พ.ศ. 2526 ความเร็วแสง

หน่วยและคำอุปสรรค[แก้]

Lexicographic conventions[แก้]

ระบบระหว่างชาติของปริมาณ[แก้]

Realisation of units[แก้]

Evolution of the SI[แก้]

ประวัติ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

อ่านเพิ่มเติม[แก้]

ลิงก์ภายนอก[แก้]