ผู้ใช้:Mopza/กระบะทราย/สถานีย่อยวิทยาศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีย่อยวิทยาศาสตร์ | โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ | โครงการวิกิการเงิน การธนาคารฯ
กลับหน้า Home | พูดคุย| หน้าหลักกระบะทราย


ยินดีต้อนรับเข้าสู่...สถานีย่อยวิทยาศาสตร์ ! สถานีย่อยที่จะรวบรวมทุกอย่างเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่น ทฤษฎี ชีววิทยา เคมี ฯลฯ



เกริ่นนำ

วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่" คือ กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ 2 ข้อ ดูเพิ่ม...


บทความแนะนำ[แก้]

เป็นรูป 3 มิติ แสดงโครงสร้าง ไมโอโกลบิน, แสดงสี แอลฟ่า เฮลิกซ์ เป็นโปรตีน ตัวแรกที่ตรวจสอบและค้นพบจากเครื่อง X-ray crystallography โดย Max Perutz และ Sir John Cowdery Kendrew ในปี 1958, ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี

สารชีวโมเลกุล หมายถึง สารอินทรีย์สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ขึ้นเท่านั้น เช่น ไขมัน น้ำมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต กรดนิวคลีอิก จัดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีโมเลกุลตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่มาก มีธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักแต่ละชนิดมีโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยาที่ต่างกัน ทำให้มีหน้าทีและประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกันไป

ชีวโมเลกุลมีความจำเป็นสำหรับการดำรงอยู่ของชีวิต ตัวอย่างเช่นมนุษย์ มีผิวหนังและขน ส่วนประกอบหลักของขนคือเคอราติน (keratin) ที่เกิดจากการจับกลุ่มกันเป็นก้อนของโปรตีน ซึ่งตัวมันเองก็เป็นพอลิเมอร์ที่ถูกสร้างจากกรดอะมิโน โดยกรดอะมิโนนั้นเปรียบเสมือนก้อนอิฐที่สำคัญในธรรมชาติที่จะประกอบ กันเป็นโมเลกุล ใหญ่ รูปแบบของก้อนอิฐอีกตัวหนึ่งคือ นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ซึ่งมีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน อ่านต่อ...


ที่เก็บถาวร

ข่าววิทยาศาสตร์วันนี้[แก้]


บทความคัดสรร[แก้]

บทความคุณภาพ[แก้]

รู้ไหมว่า[แก้]

มีส่วนร่วมกับสถานีย่อยวิทยาศาสตร์ได้โดย ...[แก้]

บทความที่ควรมี[แก้]

สารบัญวิทยาศาสตร์[แก้]

วิทยาศาสตร์การค้นคว้าและวิจัยกีฏวิทยาเคมีชีววิทยาชีวเคมีดาราศาสตร์พฤติกรรมศาสตร์พิธีสารเกียวโตมาตรวิทยาระบบรูปแบบของน้ำวัสดุศาสตร์วิทยาการสารสนเทศวิทยาศาสตร์การอาหารวิทยาศาสตร์ที่ยังไม่มีข้อพิสูจน์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติวิทยาศาสตร์ประยุกต์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยาศาสตร์โลกวิทยาศาสตร์ในจินตนาการอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เรื่องหลอกลวงทางวิทยาศาสตร์แม่เหล็ก

หัวข้อที่สำคัญ[แก้]

กีฏวิทยา

กีฏวิทยาการแพทย์กีฏวิทยาสิ่งแวดล้อม

เคมี

เคมีอนินทรีย์เคมีการคำนวณการจัดเรียงอิเล็กตรอนคู่กรด-เบสเคมีนิวเคลียร์จลนศาสตร์เคมีชีวธรณีเคมีชีวสังเคราะห์ตัวตั้งต้น

หรือ

โครงการที่เกี่ยวข้อง[แก้]