ผู้ใช้:Jinitak/ทดลองเขียน

พิกัด: 55°57′12.15″N 3°11′2.75″W / 55.9533750°N 3.1840972°W / 55.9533750; -3.1840972
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พลีสพลีสมี
ภาพของสมาชิกเดอะบีเทิลส์ - ริงโก พอล จอร์จ และจอห์น - กำลังมองลงมาจากราวบันได
สตูดิโออัลบั้มโดย
วางตลาด22 มีนาคม 1963
บันทึกเสียง11 กันยายน และ 26 พฤศจิกายน 1962, 11 และ 20 กุมภาพันธ์ 1963
Abbey Road Studios, ลอนดอน
แนวเพลงร็อก
ความยาว32:45
ค่ายเพลงพาร์โลโฟน
โปรดิวเซอร์จอร์จ มาร์ติน
ลำดับอัลบั้มของเดอะบีเทิลส์
พลีสพลีสมี
(1963)
วิทเดอะบีเทิลส์
(1963)วิทเดอะบีเทิลส์1963
ซิงเกิลจากพลีสพลีสมี
  1. "เลิฟมีดู"/"พีเอสไอเลิฟยู"
    จำหน่าย: 5 ตุลาคม 1962
  2. "พลีสพลีสมี"/"อาสก์มีวาย"
    จำหน่าย: 11 มกราคม 1963
  3. "ทวิสต์แอนด์เชาต์"/"แดส์อะเพลส"
    จำหน่าย: 2 มีนาคม 1964
  4. "ดูยูว็อนต์ทูโนวอะซีเครต"/"แตงยูเกิร์ล"
    จำหน่าย: 23 มีนาคม 1964

พลีสพลีสมี เป็นอัลบั้มเปิดตัวของวงร็อกอังกฤษเดอะบีเทิลส์ ควบคุมการบันทึกเสียงโดยจอร์จ มาร์ติน อัลบั้มนี้ปล่อยโดยค่ายพาร์โลโฟนในเครืออีเอ็มไอในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1963 ในสหราชอาณาจักรหลังความสำเร็จของซิงเกิลสองแผ่นแรกของวงได้แก่ เลิฟมีดู ที่ไต่ไปอันดับ 17 บนชาร์ตเพลงร้านค้าเพลง[1] และพลีสพลีสมี ซึ่งไต่ไปถึงอันดับหนึ่งบนชาร์ตเพลง เอ็นเอ็มอี และเมโลดีเมเกอร์ อัลบั้มนี้จะเป็นอันดับหนึ่งบนชาร์ตเพลงร้านค้าเพลงเป็นเวลา 30 สัปดาห์ ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ไม่เคยเกิดขึ้นของอัลบั้มป็อบสมัยนั้น[2]

First conceived as a live album by Martin in November 1962, the recording was moved to the studio but intended to capture the sound and repertoire of the Beatles' live performances in places like the Liverpool Cavern Club.[3][4]

Aside from their already released singles, the Beatles recorded the majority of Please Please Me in one long recording session at EMI Studios on 11 February 1963, with Martin adding overdubs to "Misery" and "Baby It's You" nine days later. Of the album's 14 songs, eight were written by the songwriting partnership of John Lennon and Paul McCartney (originally credited "McCartney–Lennon"). Rolling Stone magazine later cited these original compositions as early evidence of the Beatles' "[invention of] the idea of the self-contained rock band, writing their own hits and playing their own instruments".[5] Please Please Me was voted 39th on Rolling Stone's list of the "500 Greatest Albums of All Time" (2012), and number 622 in the third edition of Colin Larkin's All Time Top 1000 Albums (2000).

=[แก้]

ทำเนียบเซนต์แอนดรูว์
Taigh Naoimh Anndra
ภาพมุมสูงด้านหน้าของทำเนียบเซนต์แอนดรูว์
แผนที่
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเสร็จสมบูรณ์
ประเภทสถานที่ราชการ
สถาปัตยกรรมอลังการศิลป์
ที่อยู่2 ถนนรีเจนต์
EH1 3DG
เมืองเอดินบะระ
ประเทศสกอตแลนด์
พิกัด55°57′12.15″N 3°11′2.75″W / 55.9533750°N 3.1840972°W / 55.9533750; -3.1840972
ผู้เช่าในปัจจุบันรัฐบาลสกอต
เริ่มสร้าง1935
เปิดใช้งานกันยายน 1939; 84 ปีที่แล้ว (1939-09)
ปรับปรุง2001
ค่าก่อสร้าง£433,200
เจ้าของรัฐบาลสกอต
ข้อมูลทางเทคนิค
วัสดุเหล็กกล้าที่มีกำแพงกันดินสร้างโดยใช้คอนกรีตเสริมเหล็กและปิดด้วยหินทรายดาร์นีย์
จำนวนชั้น8
การออกแบบและการก่อสร้าง
สถาปนิกโทมัส เอส. เทต
บริษัทออกแบบเบอร์เน็ต เทต แอนด์ลอร์น
ผู้พัฒนาโครงการสำนักสกอตติช
ผู้ออกแบบผู้อื่นวิลเลียม รีด ดิก, อเล็กซานเดอร์ แคร์ริก, ฟิลลิส โบน, วอลเตอร์ กิลเบิร์ต โทมัส แฮดเดน
อ้างอิง
Dictionary of Scottish Architects

ทำเนียบเซนต์แอนดรูว์ (อังกฤษ: St Andrew's House) ตั้งอยู่ทางด้านใต้ของ คอลตันฮิลล์ ในตอนกลางของเอดินบะระ อาคารนี้เป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลสกอต[6] อาคารนี้ตั้งอยุ๋บนจุดที่เคยเป็นคุกคอลตันในอดีต[7] ในปัจจุบันมีเพียงทำเนียบผู้ว่าการที่มีป้อมปืนใหญ่เท่านั้นที่เหลือจากคุกคอลตันในอดีต อาคารดังกล่าวตั้งอยู่ติดกับสุสานคอลตันเก่าและอนุสาวรีย์มรณสักขีทางการเมือง

อาคารนี้ได้รับการประกาศเป็นอาคารรักษาประเภท A อาคารนี้ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบอลังการศิลป์ และตั้งอยู่ใกล้สถานีรถไฟเวเวอร์รีและสวนโฮลีรูด

การก่อสร้าง[แก้]

คุกคอลตันเก่า

อาคารนี้ออกแบบโดยโทมัส เอส. เทตแห่งเบอร์เน็ต เทต แอนด์ลอร์นซึ่งชนะการประกวดออกแบบอาคารนี้ การก่อสร้างเริ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 1935 และเสร็จสิ้นในปี 1939 ตอนแรกอาคารนี้เป็นอาคารสำนักงานของสำนักสกอตติชรวมไปถึงเสนาบดีใหญ่ฝ่ายสกอตแลนด์ ด้านหน้าอาคารมีประติมากรรมที่ออกแบบโดยจอห์น มาร์แชล[8]

อาคารนี้สร้างขึ้นเพราะนโยบายกระจายอำนาจบริหาร (แต่ไม่กระจายอำนาจนิติบัญญัติ) จากลอนดอนให้สกอตแลนด์อย่างจำกัดหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อาคารนี้เปิดให้ใช้งานครั้งแรกวันจันทร์ ที่ 4 กันยายน 1939 (หนึ่งวันหลังการประกาศสงคราม) พระราชพิธีเปิดที่วางแผนว่าจะขึ้นในวันที่ 12 ตุลาคม ปีเดียวกัน ถูกยกเลิกเพราะสงคราม อาคารนี้มีพระราชพิธีเปิดโดยพระเจ้าจอร์จที่ 6และพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 1940

สถาปัตยกรรม[แก้]

ฉากหน้าลวงฝั่งเหนือของทำเนียบเซนต์แอนดรูว์จากอนุสาวรีย์เนลสัน

ในด้านสถาปัตยกรรมอาคารนี้เป็นอาคารเสาหินที่สมมาตรและแสดงออกยับยั้งในฉากหน้าลวงฝั่งเหนือ ส่วนในฝั่งใต้อาคารมีลักษณะไม่เป็นรูปแบบมากขึ้นและมีการแสดงออกที่โรแมนติกมากขึ้น อาคารนี้ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบอลังการศิลป์เป็นอย่างมาก

Tait's design incorporates elements of Art Deco and Streamline Moderne and is noted for being a rare example of sensitively designed modern architecture in Edinburgh.[9]

The building features a number of sculpted decorations, also in the Art Deco style, which are credited to several sculptors: Sir William Reid Dick designed symbolic figures; heraldic devices are the work of Alexander Carrick and Phyllis Bone; the large bronze doors were designed by Walter Gilbert and executed by H.H. Martyn; and the secondary doors and stairs are by Thomas Hadden.[10]

St Andrew's House is designated a Category A listed building by Historic Scotland.

Governmental use[แก้]

Architectural plan of St Andrew's House

St. Andrew's House was originally designed and built as the official headquarters of the Scottish Office. Following the passing of the Scotland Act 1998, since 1999 St. Andrew's House now accommodates part of the Scottish Government, including the office of the First Minister of Scotland and Deputy First Minister of Scotland along with the Private Offices of all the Cabinet Secretaries and the Directorates dealing with justice and health. The building underwent a major refurbishment in 2001, although the facade is still coated in a sooty residue. It now accommodates 1,400 civil servants and has eight floors.[11]

Main entrance to St. Andrew's House


References[แก้]

  1. Lewisohn 2013, p. 793.
  2. White, Jack (4 October 2019). "Albums with the most weeks at Number 1" (ภาษาอังกฤษ). Official Charts Company. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 December 2021.
  3. Lewisohn 2013, p. 765–766.
  4. Lewisohn 1988, p. 24.
  5. "The Beatles Biography". Rolling Stone. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 February 2007. สืบค้นเมื่อ 24 February 2007.
  6. "St Andrew's House". Scottish Government. สืบค้นเมื่อ 4 February 2016.
  7. "Locations - St Andrew's House - Calton jail". Scottish Government. สืบค้นเมื่อ 4 February 2016.
  8. Webmaster, Tim Gardner -. "John Marshall (1888-1952), sculptor, a biography". www.glasgowsculpture.com.
  9. Glancey, Jonathan (1998). C20th Architecture: The Structures that Shaped the Century. Carlton Books. ISBN 0-87951-912-6.
  10. "Scottish Office buildings". Dictionary of Scottish Architects. สืบค้นเมื่อ 2008-11-20.
  11. "REGENT ROAD, ST ANDREW'S HOUSE INCLUDING BOUNDARY WALL, LAMP STANDARDS AND GATES (LB27756)". portal.historicenvironment.scot. สืบค้นเมื่อ 2021-01-11. Central 8-storey, 9-bay block with flanking 6-storey stair towers and 3-storey and recessed-attic wings.

External links[แก้]

=[แก้]

เพื่อนต้องห้าม
ประเภท
บทโดยภาณุวัฒน์ อินทวัฒน์
ทิชากร ภูเขาทอง
กิตติศักดิ์ คงคา
กำกับโดยภิญญา จู่คำศรี
ทิชากร ภูเขาทอง
แสดงนำ
ดนตรีแก่นเรื่องเปิดเอาเลยมั้ย (Let’s Try) (บรรเลง)
ดนตรีแก่นเรื่องปิดรัก…แล้วได้อะไร (So What?)
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย
ภาษาต้นฉบับไทย
จำนวนฤดูกาล1
จำนวนตอน12
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิตนพณัช ชัยวิมล

สถาพร พานิชรักษาวงศ์

ดารภา เชยสงวน
ความยาวตอน50 - 80 นาที
บริษัทผู้ผลิตจีเอ็มเอ็มทีวี
ออกอากาศ
เครือข่าย
ออกอากาศ12 สิงหาคม 2566 (2023-08-12) –
28 ตุลาคม 2566 (2023-10-28)

เพื่อนต้องห้าม (อังกฤษ: Only Friends) เป็นละครชุดที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2566 นำแสดงโดย คณพันธ์ ปุ้ยตระกูล ธนวัฒน์ รัตนกิจไพศาล จิรัชพงศ์ ศรีแสง กษิดิ์เดช ปลูกผล ตรัย นิ่มทวัฒน์ ภาคิน คุณาอนุวิทย์ และภาสิดี เพชรสุธี

ลพครชุดนี้กำกับโดย ภิญญา จู่คำศรี และ ทิชากร ภูเขาทอง ผลิตโดย จีเอ็มเอ็มทีวี ละครชุดนี้เป็นหนึ่งใน 19 ละครที่จีเอ็มเอ็มทีวีเปิดตัวในงาน "GMMTV 2023 : DIVERSELY YOURS" ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 [1] ละครชุดนี้เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2566 และสิ้นสุดการออกอากาศในวันที่ 28 ตุลาคม 2566 โดยมีการออกอากาศบนแพลตฟอร์มออนไลน์ได้ทางวันดี

เรื่องย่อ[แก้]

เมื่อแอลกอฮอล์ นิโคติน ฟีโรโมน แสงสี และเสียงเพลง เป็นตัวนำพาให้พวกเขา แซน (เฟิร์ส คณพันธ์), เรย์ (ข้าวตัง ธนวัฒน์), ท็อป (ฟอส จิรัชพงศ์), มิว (บุ๊ค กษิดิ์เดช), บอสตัน (นีโอ ตรัย), นิค (มาร์ค ภาคิน) ได้เจอกับความสัมพันธ์ที่มีทั้งความรัก ความร้อนแรง และความลับ ที่กำลังจะกลายเป็นจุดแตกหักของคำว่าเพื่อน และสุดท้ายมาลุ้นว่าความสัมพันธ์ เพื่อน ที่ข้ามเส้นจนกลายเป็น เพื่อนต้องห้าม จะลงเอยอย่างไร

นักแสดง[แก้]

นักแสดงหลัก[แก้]

นักแสดงสมทบ[แก้]

นักแสดงรับเชิญ[แก้]

  1. GMMTV 2023 ยกทัพดารา 100 ชีวิตเปิดตัวซีรีส์ใหม่ 19 เรื่องและ 1 ภาพยนตร์สุดปัง, สืบค้นเมื่อ 2022-12-29