ผู้ใช้:FrameHotep/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู้ใช้:FrameHotep/ทดลองเขียน/เจ้าเมืองเชียงตุง

ผู้ใช้:FrameHotep/ทดลองเขียน/ประวัติศาสตร์กัมพูชา

พระมหาธรรมราชาธิราชที่ 2 พระราชสมภพในปี พ.ศ. 1911[1]

ปรากฏใน จารึกวัดบูรพาราม ความว่า :-

"ประมาณ ศักราช๗๓๐ ทัศ วอกนักษัตรอาษาฒมาส สมเด็จมหาธรรมราชาธิราชได้เสด็จเสวยสวรรค์ชาติคลาดมาตโรทร"[2]

พ.ศ. 1939 อายุ 38 ท่านได้ปราบถึงน่าน ซวา ทิศเหนือถึงฝั่งโขง ทิศตะวันออกถึง... ตะวันตกถึงฉอด รอดแดนเมืองพัน ตะวันออกเฉียงเหนือถึงลุมบาจาย กระจายถึงยโสธร ข้างเหนือถึง นครไท เชียงดง เชียงทอง

พ.ศ. 1951 ฉลูนักษัตร ท่านก็เสวยสวรรคาลัย

พระบรมราชาสามพญา[แก้]

พระราชประวัติ[แก้]

พระราชสมภพ[แก้]

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 มีพระนามเดิมว่าเจ้าสามพระยา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระอินทราชา หลังจากพระราชบิดาตีได้หัวเมืองเหนือแล้ว ก็โปรดให้มีพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ทั้ง 3 พระองค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ เจ้าอ้ายพระยาเป็นผู้ครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้ายี่พระยาเป็นผู้ครองเมืองแพรกศรีราชา (อำเภอสรรคบุรี) ส่วนพระองค์ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปปกครองเมืองชัยนาท (พิษณุโลก) ซึ่งเป็นหัวเมืองสำคัญทางเหนือ และได้อภิเษกสมรสกับพระราชธิดาของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แห่งกรุงสุโขทัย

ขึ้นครองราชย์สมบัติ[แก้]

เมื่อสมเด็จพระนครินทราธิราชเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1959 เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา ต่างยกทัพเข้ากรุงศรีอยุธยาเพื่อชิงราชสมบัติ ทั้งสองพระองค์ได้กระทำยุทธหัตถีกันที่เชิงสะพานป่าถ่านจนสิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ ขุนนางผู้ใหญ่จึงไปกราบทูลเชิญเจ้าสามพระยาขึ้นเสวยราชสมบัติ เฉลิมพระนามว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า แล้วโปรดให้ขุดพระศพพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ไปถวายพระเพลิง แล้วสร้างวัดราชบูรณะในที่ถวายพระเพลิงนั้น ส่วนที่กระทำยุทธหัตถีให้ก่อเป็นเจดีย์ไว้ 2 องค์

เหตุการณ์ในรัชสมัย[แก้]

การศึกกับเขมร[แก้]

ปี พ.ศ. 1962 สมเด็จพระบรมราชาธิราชได้เสด็จยกทัพไปตีเมืองนครหลวง (นครธม) ในรัชสมัยพระธรรมาโศกราชได้ แล้วโปรดให้พระนครอินท์เจ้า พระราชโอรสไปครองเมืองนครหลวงแทนในฐานะเมืองประเทศราช แล้วให้นำพระยาแก้วพระยาไท พร้อมทั้งพระประยูรญาติ เหล่าขุนนาง กับทั้งรูปหล่อพระโคสิงห์สัตว์ต่าง ๆ กลับมากรุงศรีอยุธยาด้วย ทำให้อิทธิพลของเขมรในด้านการปกครอง ประเพณี ตลอดจนงานศิลปะมาปรากฏชัดในอยุธยา ต่อมาพระองค์ได้แต่งตั้งพระอินทราชา (พระนครอินทร์) อยู่ครองกรุงนครธม แต่พระอินทราชาอยู่ปกครองกรุงกัมพูชาได้ไม่นานเท่าใดก็ประชวร สิ้นพระชนม์ พระองค์จึงทรงแต่งตั้งเจ้าพญาแพรกครองแทน

พระชินราช[แก้]

พ.ศ. 1969 สร้างวัดมเหยงค์ในปีเดียวกัน พระพุทธชินราช มีน้ำพระเนตรไหลออกมาเป็นโลหิต

ปราบเมืองพิมายและพนมรุ้ง[แก้]

เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนปี พ.ศ. 1982 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ทรงให้ระดมกองทัพช้างม้า เตรียมจะยกไปตีเมืองพิมายและพนมรุ้ง เจ้าเมืองทั้งหลายจึงออกมาถวายบังคมสมเด็จพระบรมราชาธิราช พระองค์ก็โปรดพระราชทานรางวัล แล้วโปรดให้เจ้าเมืองเหล่านั้นกลับไปปกครองเมืองของตนตามเดิม[3]

พระราชพิธีโกษรกรรม สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ[แก้]

เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1982 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 จัดให้มีพระราชพิธีโกษรกรรม(พระราชพิธีโสกันต์) ให้กับพระบรมเชษฐาธิราช พระราชโอรส แล้วพระราชทานนามใหม่ว่า "สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนารถบพิตร"[3]

ปรากฏใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ความว่า :-

"๏ ศักราช 801 มะแม เอกศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าก็ให้ประชุมพราหมณาจารย์แลท้าวพญาเสนามาตย์ทั้งหลายเล่นมหรสพ ตั้งพระราชพิธีโกษ(ร)...กรรมสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชกุมารท่าน แลประสาทพระนาม...สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนารถบพิตร"[3]

เพลิงไหม้พระราชมณเทียร[แก้]

เพลิงไหม้พระราชมณเทียร

พ.ศ. 1984 เกิดเพลิงไหม้พระที่นั่งตรีมุข

การศึกกับล้านนา[แก้]

ในปี พ.ศ. 1985 พระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่ ได้รบกับท้าวช้อยผู้เป็นพระอนุชา ท้าวช้อยแพ้หนีไปอยู่เมืองเทิง(อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย) เจ้าเมืองเทิงได้มาขอสวามิภักดิ์กับกรุงศรีอยุธยาและขอให้ส่งกองทัพไปช่วยรบ สมเด็จพระบรมราชาธิราชจึงทรงยกกองทัพไปตีเมืองเชียงใหม่ของอาณาจักรล้านนาแต่ก็ตีไม่สำเร็จประกอบกับทรงพระประชวรจึงทรงยกกองทัพกลับกรุงศรีอยุธยา

ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) พระองค์ทรงยกกองทัพไปตีเชียงใหม่อีกครั้ง เมื่อ พ.ศ. 1987 ทรงตั้งทัพหลวงที่ตำบลปะทายเขษม ครั้งนี้ได้หัวเมืองชายแดนของเชียงใหม่กับเชลยอีก 120,000 คน จึงยกทัพหลวงกลับพระนคร แต่ศึกครั้งนี้ไม่ปรากฏในหลักฐานฝ่ายล้านนา ในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ กล่าวเพียงแค่เสด็จไปปราบพรรค ตั้งทัพหลวงที่ตำบลปะทายเขษม ได้เชลย 120,000 คน เท่านั้น ไม่ได้กล่าวถึงเมืองเชียงใหม่

จากข้อมูลอื่นใน พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับปลีกหมายเลข 223,2/ก.125 กล่าวว่า เจ้าอยาด บุตรพระรามเจ้า (พระรามาธิบดี (คำขัด)) ที่ถูกส่งไปอยู่จัตุรมุข (พนมเปญ) นั้น ได้ก่อกบฏต่อพระอินทราชา ชักชวนชาวเขมรให้แข็งเมืองขึ้นจนใหญ่โตเป็นมหาพรรค พระอินทราชายกทัพไปตีเจ้าอยาดแตกพ่าย จับเจ้าอยาดส่งไปกรุงศรีอยุธยา แต่ขุนนครไชยกลับแอบปล่อยตัวให้เจ้าอยาดหนีไป เจ้าอยาดเลยระดมกองทัพมหาพรรคชาวเขมรขึ้นใหม่ ในขณะนั้นพระอินทราชาเกิดประชวรสวรรคต เจ้าสามพระยาจึงส่งเจ้าพระยาแพรก ราชบุตรอีกองค์ไปครองพระนครธม และยกทัพใหญ่เข้ามายังกัมพูชาเพื่อปราบพรรคในปี พ.ศ. 1987 จึงน่าจะเป็นเหตุการณ์นี้มากกว่าสงครามกับล้านนา และเมื่อพิจารณาจากชื่อสถานที่ตั้งทัพคือปะทายเขษม คำว่าปะทายน่าจะเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคือ บันทาย (បន្ទាយ) ซึ่งมักพบเป็นชื่อสถานที่หรือชื่อเมืองในกัมพูชา

ปราบจราจล[แก้]

พ.ศ. 1987 เสด็จยกทัพปราบจราจล แลตั้งทัพหลวงที่ปะทายเขษม

การสวรรคต[แก้]

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เสด็จสวรรคต เมื่อ พ.ศ. 1994 พระองค์ครองราชสมบัติรวม 35 ปี โดยสมเด็จพระราเมศวรพระราชโอรสได้สืบราชสมบัติต่อ มีพระนามว่าสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

รายนามเจ้าเมืองเชียงตุง[แก้]

เชียงตุงภายใต้ล้านนา[แก้]

พระนาม เริ่มต้น สิ้นสุด รวมระยะเวลา หมายเหตุ
มังคุ่ม 1786 1790 4 ปี
มังเคียน 1790 1796 6 ปี
เจ้าน้ำท่วม

(เจ้าเฉวตฉัตรขาว)

1796 1807 11 ปี พระราชโอรสพญามังราย
เจ้าน้ำน่าน 1807 1860 53 ปี
เจ้าสามหมื่นห้วย 1860 1867 7 ปี
เจ้าอ้ายลก 1867 1885 18 ปี
เจ้าใส่น่าน 1885 1903 18 ปี
เมืองร้าง

ราชวงศ์มังราย[แก้]

พระนาม พระนามจีน เริ่มต้น สิ้นสุด หมายเหตุ
สัตตพันธุราชา

เจ้าเจ็ดพันตู

เดือน 1 แรม 6 ค่ำ พ.ศ.1893 พระราชโอรสพญาผายู
รัตนพันธุราชา

เจ้าอ้ายอ่อน

พ.ศ.1920 พระบุตรเจ้าเจ็ดพันตู
อัยกาพาหุราชา

เจ้าบุญชู

(เจ้าแขนเหล็ก)

ตำแหน่งแสงฟูเซอ 1933
พญาแก้วมธุ

เจ้ายี่คำขา

1946
พญากองรัตนเภรี

เจ้าสามน้องหล้า

พญาสรีสุธรรมจุฬามุนีราช

เจ้าสามสรี

1986

ราชวงศ์อ้ายเลาคำทา[แก้]

พระนาม พระนามจีน เริ่มต้น สิ้นสุด หมายเหตุ
จันทปุณณราชา

พญาอ้ายเลาคำทาราชนรินท์

1999
พญาอาทิตตราชาที่ 1เจ้าอ้ายเลา 2003
เจ้าจอมศักดิ์เจ้าหน่อแก้ว
พญาศรีวิชัยราชา

เจ้าสายคอ

เจ้าใส่พรหม
เจ้าสามเชียงคง
เจ้าคำหมู่
พญาแก้วยอดฟ้านริท

เจ้าท้าวคำฟู

พญารัตนภูมินท์นรินทาเขมาธิบติราชา

เจ้าแก้วบุญนำ

พญาสุธรรมราชา

เจ้าคำท้าว

พญาแก้วปราบนรินทา

เจ้าขาก

พญาอาทิตตราชาที่ 2

(พญาสุริยราชา) เจ้าอุ่น

พระยารัตนพันธุ

เจ้าอินคำ

พระยาสุรินทราชา

เจ้ารามหมื่น

อุทัยไตรวัจฉระ

เจ้าแก้วบุญมา

เจ้าสาม
เจ้าเมืองชีน เจ้าเมืองพี
เจ้าหม่องมยู
เจ้าติถนันทราชา
เจ้าเมืองสาม
เจ้ากาง
เจ้าเมืองสาม
เจ้ากองไตย
เจ้ามหาขนาน
Maha Pawn
Hseng
Sao Kawng Tai II
Sao Kawn Kham Hpu
เจ้าฟ้าก้อนแก้วอินแถลง
เจ้าฟ้ากองไท
เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือ
เจ้าจายหลวง มังราย
สิ้นสุดระบอบเจ้าฟ้า

รายนามกษัตริย์ลาว[แก้]

พระนาม พระบรมรูป พระนามทางการ พระราชสมภพ เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล สวรรคต ความสัมพันธ์กับรัชกาลก่อน หมายเหตุ
สมเด็จพระเจ้าฟ้างุ้มมหาราช สมเด็จพระบาทอัญญา สมเด็จพระเจ้าฟ้าหล้าธรณีศรีสัตนาคณหุต มหาราช พระบาทราชธรณี ศรีสัตนานคร พ.ศ. 1859

เมืองซวา

5 กรกฎาคม พ.ศ. 1896 พ.ศ. 1915 พ.ศ. 1916

เมืองน่าน

(พระชนมายุ 57 พรรษา)

พระราชโอรสในเจ้าฟ้าเงี้ยว [4]
พระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาท

(อุ่นเรือน)

สมเด็จพระบาทอัญญา สามแสนไท ไตยภูวนาทราธิปัตย์ ศรีสัตนาคณหุต พ.ศ. 1900

เมืองซวา

พ.ศ. 1915 พ.ศ. 1959

เมืองซวา

(พระชนมายุ 60 พรรษา)

พระราชโอรสใน

พระเจ้าฟ้างุ้ม

[5]
พระเจ้าล้านคำแดง สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้า ล้านคำแดง พ.ศ. 1930

เมืองซวา

พ.ศ. 1960 พ.ศ. 1971

เมืองซวา

(พระชนมายุ 41 พรรษา)

พระราชโอรสใน

พระเจ้าสามแสนไท

[6]
เจ้าพรหมทัต Samdach Brhat-Anya Chao Brahma-kumara Bhumadaraja ?

เมืองซวา

พ.ศ. 1971 พ.ศ. 1972

เมืองซวา

พระราชโอรสองค์โตใน

พระเจ้าล้านคำแดง

ครองราชได้ 10 เดือน[ต้องการอ้างอิง]
เจ้ายุคล(หมื่นไสย) Samdach Brhat-Anya Chao Yugandhara ?

Muang Sua, Lan Xang

1429 1430

Phadao, Lan Xang

Younger brother of Phommathat Reigned 8 months[7]
Khon Kham Samdach Brhat-Anya Chao Kunikama ?

Muang Sua, Lan Xang

1430 1432

Kokrua, Lan Xang

Son of King Samsenthai Reigned 18 months[8]
Kham Tam Sa(Kham Teun, Khamtum) Samdach Brhat-Anya Chao Kama Dharmasara ?

Muang Sua, Lan Xang

1429(?); 1432

Pak Houei Luang, Lan Xang

Reigned 5 months[9]
Lusai Samdach Brhat-Anya Chao Luvana Jaya Chakrapati Phen-Pheo ?

Muang Sua, Lan Xang

1432 1433

Palace Gardens, Muang Sua, Lan Xang

Reigned 6 months

[10]

Khai Bua Ban Samdach Brhat-Anya Chao Kaya Buvanabana ?

Muang Sua, Lan Xang

1433 1436 1438

Sop Kham, Lan Xang

Grandson of Samsenthai [11]
Kham Keut (Kham-Kert, Kham Keul) Samdach Brhat-Anya Chao Kama Kirti ?

Muang Sua, Lan Xang

1436 1438

Muang Sua, Lan Xang

Illegitimate son of Samsenethai [ต้องการอ้างอิง]
Nang Keo Phimpha

ນາງແກ້ວພິມພາ

Samdach Brhat-Anya Sadu Chao Nying Kaeva Bhima Fa Mahadevi

ສົມເດັຈພຣະຍາ ສາທຸເຈົ້າຍິງ ແກ້ວພິມພາ ມະຫາເທວີ

1343 1438

Pha-Dieo, Muang Sua

Aged 95

[12]
Interregnum (1438–1441, rule by Sena and members of Sangha)[13]
Chakkaphat Phaen Phaeo

(Sai Tia Kaphut or Xainyachakkaphat)

สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าชนกจักรพรรดิราชาแผ่นแผ้ว พญาชัยธิยกพุทธ 1415

Muang Sua, Lan Xang

1441 1479 1481

Muang Xieng Khane, Lan Xang

Aged 66

Son of Samsenthai [14]
Souvanna Banlang สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าสุวรรณปัญญาลังการาชาศรีสัตตนาคนหุต 1455

Xieng-Thong, Lan Xang

1479 1485

Xieng-Thong, Lan Xang

Aged 30

Son of Chakkaphat Phaen Phaeo [ต้องการอ้างอิง]
La Sen Thai

(La Sen Thai Puvanart)

สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าลังกาเสนา ธยา ภูวนาถราชาศรีสัตตนาคนหุต 1462

Xieng-Thong, Lan Xang

1486 1495

Xieng-Thong, Lan Xang

Aged 33

Youngest brother of Suvarna

Banlang

[15]
Somphou สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าชมภูราชา ศรีสัตตนาคนหุต 1486

Xieng-Thong, Lan Xang

1495 1500 1501

Muang Sua, Lan Xang

Aged 15

Son of La Sen Thai 1495-1497, under regency by his uncle[16]
Visoun (also Vixun or Visunarat) สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าวิชุลละราชราชาธิบดี ภาดา

ศรีสัตตนาคนหุต

1465

Xieng-Thong, Lan Xang

1500 1520

Vientianne, Lan Xang

Aged 55

Son of Sai Tia Kaphut [17]
Photisarath I (also Phothisarath, Phothisarat, or Potisarat)ພະເຈົ້າໂພທິສະລາດ สมเด็จพระบาทโพธิศาลมหาธรรมิกทัต ลังกานคุณ มหาราชาอธิบดี จักรพรรดิภูมินทร์นรินทรราชา ศรีสัตตนาคนหุต 1505

Xieng-Thong, Lan Xang

1520 8 August 1548

Xieng-Mai Nhotnakorn Palace, Vientiane, Lan Xang

Aged 43

Son of Visoun [9]
Setthathirathເສດຖາທິຣາດ

(also Xaysettha, Chaiyachettha,

Chaiyaset or Jayajestha)

ໄຊເສດຖາ

Samdach Brhat-Anya Chao Udaya Budhara Buvana Brhat Jaya Setha Maharajadiraja Buvanadi Adipati Sri Sadhana Kanayudha 24 January 1534

Muang Sua, Lan Xang

8 August 1548 1571

Muang Ong-Kan, Attapeu, Lan Xang

Aged 37

Son of Photisarath Also King of Lanna

r. 1546-1551 [18]

Nokeo Koumane Samdach Brhat Vora Ratana Dharmapasuta Sethakassa Atsanachandra Suvarna Samudhi Khakharattanasara Raja Bupati 1571

Vientianne, Lan Xang

1571 1596

Aged 25

Son of Setthathirath First reign as a baby under regency
Sen Soulintha (also Saen Surintha or Sen Sourintha,

born Chane Tian)

Samdach Brhat-Anya Chao Sumangala Ayaka Budhisana Raja Sri Sadhana Kanayudha 1511

Nong-Khai, Siam

1572 1575 1582

Vientianne, Lan Xang

Aged 71

Not of royal descent First reign.

[19]

Voravongsa I Samdach Brhat-Anya Chao Brhatasena Vora Varman Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1575 1579

Keng Chane pass, Vientiane, Lan Xang

Son of Photisarath Burmese vassal[20]
Sen Soulintha (also Saen Surintha or Sen Sourintha,

born Chane Tian)

Samdach Brhat-Anya Chao Sumangala Ayaka Budhisana Raja Sri Sadhana Kanayudha 1511

Nong-Khai, Siam

1580 1582

Vientianne, Lan Xang

Aged 71

Not of royal descent Second reign

[21]

Nakhon Noi Samdach Brhat Chao Samdach Brhat Chao Negara Nawi Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1582 1583 ?

Toungoo Empire

Son of Sen Soulintha.

Not of royal descent.

[22]
Interregnum (1583–1591)[ต้องการอ้างอิง]
Nokeo Koumane Samdach Brhat Vora Ratana Dharmapasuta Sethakassa Atsanachandra Suvarna Samudhi Khakharattanasara Raja Bupati 1571

Vientianne, Lan Xang

1591 1596

Aged 25

Son of Setthathirath [23]
Voravongsa II

(Thammikarath)

Vara Varman Dharmika Raja Jaya 1585 1596 1621 1622

Aged 37

Nephew of Setthathirath [24]
Oupagnouvarath Samdach Brhat Chao Maha Upayuvaraja 1597 1621 1622

Aged 25

Son of Voravongsa [25]
Photisarath II Samdach Brhat-Anya Chao Bandita Buddhisa Raja Sri Sadhana Kanayudha 1552 1622 1627

Aged 75

Son or grandson of Sen Soulintha

Not of royal descent

[26]
Mon Keo (Mongkeo) Samdach Brhat-Anya Chao Manikya Kaeva Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1627 1633 Son of Voravongsa [27]
Tone Kham Samdach Brhat Chao Dharmakama Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1633 1637 Son of Mon Keo [28]
Vichai Samdach Brhat Chao Vijaya Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1637 1638 Son of Mon Keo [28]
Souligna Vongsa

(Sourinyavongsa)ສຸຣິຍະວົງສາທັມມິກຣາດ

Samdach Brhat Chao Suriyalinga Varman Dharmika Raja Parama Pavitra Prasidhadhiraja Sri Sadhana Kanayudha 1618

Vientiane, Lan Xang

1638 1694

Vientiane, Lan Xang

Aged 76

Son of Tone Kham 2nd Golden Age of Lan Xang

[29]

Tian Thala Samdach Brhat Chao Devaniasena Chandralaya Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1694 1695 1696 Not of royal descent. Senior minister who usurped the throne

reigning for 6 months.[30]

Nan Tharat Samdach Brhat Chao Phya Nanda Raja Sri Sadhana Kanayudha ? 1695 1698

Vientiane, Lan Xang

Grandson of Vichai [31]
Setthathirath II

ພຣະເຈົ້າໄຊອົງເວ້

(Sai Ong Hue; Ong Lo; Trieu Phuc)

ໄຊອົງເວ້

Somdetch Brhat Chao Maha Sri Jaya Setha Adiraja Darmikaraja Chandrapuri Sri Sadhana Kanayudha 1685

Huế, Đại Việt

1698 1706 1730

Royal Palace, Vientiane

Aged 45

Nephew of Souligna Vongsa

(whose father was exiled to Vietnam)

[32]
พระยาหมื่นบ้าน (กษัตริย์หุ่น) 1973
เจ้าไค้บัวบาน (กษัตริย์หุ่น) 1974 - 1977
เจ้าก้อนคำ (กษัตริย์หุ่น) 1978
เจ้ายุคล (กษัตริย์หุ่น) 1979
เจ้าคำเกิด (กษัตริย์หุ่น) 1979 - 1981
นางแก้วพิมพา หรือ พระมหาเทวีอามพัน 1981
สมเด็จพระเจ้าไชยจักรพรรดิแผ่นแผ้ว สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าชนกจักรพรรดิราชาแผ่นแผ้ว พญาชัยธิยกพุทธ 1981 - 2023
สมเด็จพระเจ้าสุวรรณบัลลังก์ สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าสุวรรณปัญญาลังการาชาศรีสัตตนาคนหุต 1981 - 2029
สมเด็จพระเจ้าหล้าแสนไทไตรภูวนาถ สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าลังกาเสนา ธยา ภูวนาถราชาศรีสัตตนาคนหุต 2029 - 2039
สมเด็จพระเจ้าชมพู สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าชมภูราชา ศรีสัตตนาคนหุต 2039 - 2044
สมเด็จพระเจ้าวิชุลละราช สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าวิชุลละราชราชาธิบดี ภาดา

ศรีสัตตนาคนหุต

2044 - 2063
พระเจ้าโพธิศาละราช สมเด็จพระบาทโพธิศาลมหาธรรมิกทัต ลังกานคุณ มหาราชาอธิบดี จักรพรรดิภูมินทร์นรินทรราชา ศรีสัตตนาคนหุต 2063 - 2090
เจ้ากิจธนวราธิราชหรือเจ้าท่าเรือ 2090 - 2091
สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าอุทิศพุทธระ ภูวนา พระบาทไชยเชษฐามหาราชาธิราชภูวนาถอธิบดี ศรีสัตตนาคนหุต 2091 - 2114
หน่อแก้วโกเมน สมเด็จพระบาทวรรัตนา

ธรรมปสูตร เสฐกัสสะ อาสนจันทรา สุวรรณสมาธิ ขัครัตนสัตราชาภูบดี

พระยาแสนสุรินทร์ลือชัย สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าสุมังคลา อยกพุทธิสานราชาศรีสัตตนาคนหุต 2114 - 2118
พระเจ้าศรีวรวงษาธิราช หรือ พระมหาอุปราชศรีวรวงษา สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้า

พระบาทเสนา วรวรมันราชา ศรีสัตตนาคนหุต

2118 - 2123
พระยาแสนสุรินทร์ลือชัย (ครั้งที่ 2) สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าสุมังคลา อยกพุทธิสานราชาศรีสัตตนาคนหุต 2123 - 2125
พระยานครน้อย สมเด็จพระบาทเจ้า สมเด็จพระบาทเจ้านครนวีราชา

ศรีสัตตนาคนหุต

2125 - 2126
ว่าง
พระหน่อแก้วโกเมน

(ประกาศอิสรภาพจากพม่า)

สมเด็จพระบาทวรรัตนา

ธรรมปสูตร เสฐกัสสะ อาสนจันทรา สุวรรณสมาธิ ขัครัตนสัตราชาภูบดี

2134 - 2139
พระวรปิตา
พระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช วราวรมันธรรมิกราชาไชย 2139 - 2140
พระอุปยุวราช สมเด็จพระบาทเจ้ามหาอุปยุวราช 2140 - 2165
พระบัณฑิตโพธิศาละราช สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้าบัณฑิตโพธิศาราชาศรีสัตตนาคนหุต 2165 - 2166
พระหม่อมแก้ว สมเด็จพระบาทอัญญาเจ้ามานิตย์แก้วราชา

ศรีสัตตนาคนหุต

2166 - 2170
เจ้าต่อนคำ สมเด็จพระบาทเจ้าธรรมกรมราชา ศรีสัตตนาคนหุต 2170 - 2176
เจ้าวิชัย สมเด็จพระบาทเจ้าวิชัยราชาศรีสัตตนาคนหุต 2176 - 2179
พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช สมเด็จพระบาทเจ้าสุริยลิงกาวรมัน ธรรมิกราชาพรมพวิตร ประสิทธิราช

ศรีสัตตนาคนหุต

2179 - 2181
พระยาจันทสีหราช เมืองแสน สมเด็จพระบาทเจ้า

เทวัญเสนาจันทรายาราช ศรีสัตตนาคนหุต

2181 - 2238
เจ้าองค์หล่อ 2238
เจ้านันทราช สมเด็จพระบาทเจ้าพระนันทราช ศรีสัตตนาคนหุต 2239 - 2242
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (พระไชยองค์เว้) สมเด็จพระบาทเจ้ามหาศรีไชยเชษฐาอธิราช ธรรมิกราชา จันทบุรีศรีสัตตนาคนหุต 2242 - 2245
36 2241 - 2250

เจ้าสร้อย[แก้]

สถาปนาอาณาจักรจำปาสักดิ์[แก้]

พ.ศ. 2252 อาณาจักรจำบากนาคบุรีศรี เกิดความวุ่นวายเกิดโจรผู้รายชุกชุมมากมาย จนราษฎรได้รับความเดือดร้อน พระครูโพนสะเม็กจึงไปอันเชิญเจ้าหน่อกษัตริย์และพระราชมารดาสุมังคลาที่บ้านงิ้วพันลำโสมสนุกมายังนครกาลจำบากนาคบุรีศรี และทำพิธีบรมราชาภิเษกเจ้าหน่อกษัตริย์ขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร และเปลี่ยนชื่อนามเมืองใหม่เป็น นครจำปาศักดิ์นาคบุรีศรี หรือ จำปาสักดิ์ เมื่อปี พ.ศ. 2256

ขยายพระราชอาณาจักร[แก้]

สมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูรทรงมีพระราชโองการให้ศิษย์เอกที่เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก ส่งออกไปหาที่สร้างบ้านแปลงเมืองปรากฏตามหลักฐานมีดังนี้

1.จารย์หวด ไปรักษาด่านบ้านดอนโขงในลำน้ำโขง เรียกว่าดอนโขง เป็นเจ้าเมืองโขง

2.ท้าวสุด เป็นพระยาไชยเชษฐา ไปรักษาบ้านหางโคกปากน้ำเซทางฝั่งโขงตะวันออก เป็นเจ้าเมืองเชียงแตง

3.จารย์แก้ว ไปรักษาบ้านทม เป็นเจ้าเมืองสุวรรณภูมิ

4.ท้าวมั่น ข้าหลวงเดิมของนางแพนเป็นหลวงเอก ไปรักษาบ้านโพน เป็นเจ้าเมืองสาระวัน

5.จารย์เชียง เป็นเจ้าเมืองศรีนครเขต อยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษปัจจุบัน

6.ท้าวพรหม เป็นราชบุตรโคตร ไปรักษาด่านบ้านแก้วอาเฮิม เป็นเจ้าเมืองคำทองใหญ่

7.จันทรสุริยวงศ์ ไปรักษาด่านบ้านโพนสิม เป็นเจ้าเมืองตะโป ปัจจุบันอยู่ในแขวงสุวรรณเขต

8.จารย์สม ไปรักษาบ้านทุ่งอิฐกระบือ เป็นเจ้าเมืองอัตปือ

9.บุตรพะละงุม เป็นขุนหนักเฒ่า ไปรักษาบ้านโคงเจียง เป็นเจ้าเมืองเชียงเจียง อำเภอโขงเจียม ในปัจจุบัน

สวรรคต[แก้]

ขยายพระราชอาณาจักร[แก้]

สมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูรทรงมีพระราชโองการให้ศิษย์เอกที่เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก ส่งออกไปหาที่สร้างบ้านแปลงเมืองปรากฏตามหลักฐานมีดังนี้

1.จารย์หวด ไปรักษาด่านบ้านดอนโขงในลำน้ำโขง เรียกว่าดอนโขง เป็นเจ้าเมืองโขง

2.ท้าวสุด เป็นพระยาไชยเชษฐา ไปรักษาบ้านหางโคกปากน้ำเซทางฝั่งโขงตะวันออก เป็นเจ้าเมืองเชียงแตง

3.จารย์แก้ว ไปรักษาบ้านทม เป็นเจ้าเมืองสุวรรณภูมิ

4.ท้าวมั่น ข้าหลวงเดิมของนางแพนเป็นหลวงเอก ไปรักษาบ้านโพน เป็นเจ้าเมืองสาระวัน

5.จารย์เชียง เป็นเจ้าเมืองศรีนครเขต อยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษปัจจุบัน

6.ท้าวพรหม เป็นราชบุตรโคตร ไปรักษาด่านบ้านแก้วอาเฮิม เป็นเจ้าเมืองคำทองใหญ่

7.จันทรสุริยวงศ์ ไปรักษาด่านบ้านโพนสิม เป็นเจ้าเมืองตะโป ปัจจุบันอยู่ในแขวงสุวรรณเขต

8.จารย์สม ไปรักษาบ้านทุ่งอิฐกระบือ เป็นเจ้าเมืองอัตปือ

9.บุตรพะละงุม เป็นขุนหนักเฒ่า ไปรักษาบ้านโคงเจียง เป็นเจ้าเมืองเชียงเจียง อำเภอโขงเจียม ในปัจจุบัน

รายพระนามกษัตริย์นครศรีธรรมราช[แก้]

รายพระนามกษัตริย์ผู้ครองอาณาจักรตามพรลิงค์[แก้]

ฃรายชื่อกษัตริย์อาณาจักรศรีวิชัย

พ.ศ.1006. ถึง พ.ศ............. พระเจ้าพิชัยเดชะ .....

พ.ศ.1132 ถึง พ.ศ..1160 พระเจ้าธรรมราชบุระ(พระเจ้าลี-ฟู-โต-เส) หรือ พระเจ้าธรรมราช ราชวงค์โคตมะวงค์(จูถ่าน)

พ.ศ.............ถึง พ.ศ. 1196พระยาศรีไสยนรงค์ นางจันทาเทวี อัครมเหสี

พ.ศ..............ถึง พ.ศ.1198 ท้าวธรรมกษัตริย์(น้องชาย)

พ.ศ. ...........ถึงพ.ศ.1213 พระเจ้าศรีวิชัย (โห-มิ-โต) ชิลิโพชิ

พ.ศ.1217 ถึง พ.ศ........ พระนางสิมา กษัตริย์ผู้หญิงแห่งนครศรีธรรมราช

พ.ศ.1245 ถึง พ.ศ...........พระเจ้าธรรมเสตุ หรือ สมเด็จพระอินทราธิราช(ไศเลนทรวงค์)

พ.ศ.1267 ถึง พ.ศ............พระเจ้ากรุงศรีวิชัย เช-ลิ-โต-เล-เปา-ไม

พ.ศ.1285 ถึง พ.ศ........... พระเจ้า .ลิว-เตง-วิ-กง (กษัตริย์ศรีวิชัย)

พ.ศ.......... ถึง พ.ศ.1310...พระเจ้าวิษณุที่1.......

พ.ศ.1310 ถึง พ.ศ........... พระเจ้าวิษณุที่2

พ.ศ.1318 ถึง พ.ศ............พระเจ้าศรีวิชเยนทรราชา(วิษณุ)หรือ ศรีวิชเยนทรนฤบดี และดำรงพระราชอิสริยยศว่า ( ศรีราชา )ผู้เป็นราชวงค์ไศเลนทร.....จารึกหลักเสมาเมือง ศักราช697 ( พ.ศ.1318 ทรงพระนามว่า... ธรรมเสตุ )

พ.ศ.1403 ถึง พ.ศ.1440.... พระเจ้าศิริกิตกุมาร (เรื่องพระแก้วมรกต) กรุงตามพรลิงค์

.............................ราชวงศ์ไศเลนทรตอนปลาย...................................................

๑.พ.ศ.1446 ถึงพ.ศ.1471 มหาราชสิทธะยนาภา(ชีวกราช ในตำนานชินกาลมาลีปกรณ์)มีพระนามหลายพระนาม พระยาวรราช หรือสุชิตราช หรือ สุรชิตราช ตั้งราชธานีอยู่ที่มาลัยปุระ คือนครตามพรลิงค์

๒.พ.ศ.1457 ถึง พศ ......พระเจ้ากัสสปะที่4 กษัตริย์ศรีวิชัย ผู้ครองเมืองตามพรลิงค์เดินทางไปปกครองลังกา( จากศิลาจารึกประเทศศรีลังกา)

๓.พ.ศ.1471 ถึง พ.ศ.1503 มหาราชโกณฑัญญะ

๔.พ.ศ.1503 ถึง พ.ศ.1550 มหาราชศรีจุฬามณีวรรมเทวา ตั้งราชธานีอยู่ท่ีนครศรีวิชัย คือไชยา

พ.ศ. 1544 ท้าวสุชัย

๕.พ.ศ.1550 ถึง พ.ศ.1567 มหาราชมารวิชโยตตุงคะ สิ้นพระชนม์ชีพในสนามรบ

พ.ศ.1567และโอรสองค์ใหญ่ชื่อ....สงครามวิชโยตตุง..ถูกจับเป็นเชลยและสิ้นพระชนม์ที่แคว้นโจฬะ โอรสองค์น้อย

๖.พ.ศ.1567 ถึง พ.ศ.1615 มหาราชสมรวิชโยตุงคะ พระเจ้าสุชิตราช หรือชีวกะ

๗.พ.ศ.1615 ถึง พ.ศ........ มหาราชมาณาภรณ์

๘.พ.ศ......... ถึง พ.ศ...... มหาราชมหาสธรรมปรัพตา

๙.พ.ศ....... ..ถึง พ.ศ....... .มหาราชสูรยนารายณ์ ( 3 ) ร่วมสมัยกับพระเจ้าวิชัยพาหุที่1(1614-1669) ประเทศศรีลังกา ตั้งราชธานีอยู่ที่ นครสิงหปุระ เข้าใจว่าจะเป็นเมืองร้างที่อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา


ราชวงศ์โมริยะ[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 1 พ.ศ.1098 - พ.ศ.1120 ผู้สร้างเมืองละคอน
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 2 พ.ศ.1120 - พ.ศ.1180 พระอนุชาพระนามว่า เจตราช

ราชวงศ์ศิริปะระ[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 3

(พิลิฎฐปะระ)

พ.ศ.1180 - พ.ศ.1217 พระชามาดาของพระเจ้าศรีธรรมโศกราชที่ 2
พระราชินีศรีธรรมาโศกราชที่ 4

(พระนางสีมา)

พ.ศ.1217 - พ.ศ.1230 พระราชธิดาพระเจ้าศรีธรรมโศกราชที่ 3

และพระนัดดาพระนางจามเทวี

พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 5

(พระเจ้าสันนา)

พ.ศ.1230 - พ.ศ.1270 พระราชโอรสพระราชินีศรีธรรมโศกราชที่ 4

ราชวงศ์ไศเรนทร์[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 5

(พระเจ้าสันนา)

พ.ศ.1230 - พ.ศ.1270 พระราชโอรสพระราชินีศรีธรรมโศกราชที่ 4

ประเทศราชแห่งศรีวิชัย[แก้]

ราชวงศ์โมริยะ(ครั้งที่ 2)[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 6 พ.ศ.1270 - พ.ศ.1303 สามันตราชแห่งศรีวิชัย
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 7 พ.ศ.1270 - พ.ศ.1343
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 8 พ.ศ.1343 - พ.ศ.1361
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชที่ 9

(พระเจ้าพันธุ)

พ.ศ.1361 - พ.ศ.1394

ตามพรลิงค์อิสระ[แก้]

ราชวงศ์สัญชัย[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้าศรีธรรมาราชที่ 1

(พระเจ้ากลันธรรม)

พ.ศ.1426 - พ.ศ.1440 กู้เอกราชจากศรีวิชัย
พระเจ้าศรีธรรมาราชที่ 2

(พระเจ้าสุชิตราช)

พ.ศ.1440 - พ.ศ.1470 พระราชโอรสพระเจ้ากลันธรรม
พระเจ้าศรีธรรมาราชที่ 3

(พระเจ้ากัมโพชะ)

พ.ศ.1470 - พ.ศ.1515 เจ้าชายสุรัยยะผู้พิชิตเขมรพระราชโอรส ดำรงตำแหน่งอุปราชแห่งละโว้
พระเจ้าศรีธรรมาราชที่ 4 พ.ศ.1515 - พ.ศ.1567 พระอนุชาเจ้าชายสุรัยยะ
พระเจ้าศรีธรรมาราชที่ 5 พ.ศ.1567 - พ.ศ.1610 พระราชโอรสพระเจ้าศรีธรรมาราชที่ 4

ราชวงศ์ปัทมะ[แก้]

๑. พ.ศ.........ถึง พ.ศ....... มหาราชสูรยนารายณ์ ( ๔ ) เป็นโอรสของมหาราชมหาสธรรมปรัพตา (กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งไศเลนทรวงค์ จัดเป็นพระเจ้าศรีธรรมโศกราชที่ ๑

๒. พ.ศ.........ถึง พ.ศ 1710 มหาราชชัยโคปะ( พระเจ้าศรีธรรมโศกราชที่ ๒ ) (ในศิลาจารึกดงแม่นางเมืองหลักที่ 35) ตำนานพระบรมธาตุจังหวัดนครศรีธรรมราชระบุปีที่สร้างว่าเป็นศักราช 1098 ซึ่งศักราชในที่นี้ควรเป็นมหาศักราชเนื่องจากจารึกดงแม่นางเมือง พ.ศ. 1710 ที่มีรับสั่งให้เจ้าเมืองถวายที่นาเพื่อบูชาสริธาตุของกษัตริย์ผู้ล่วงลับไปแล้ว ทั่งนี้เมื่อเปรียบเที่ยบปีพุทธศักราช 1710 ของจารึกแม่นางเมือง ก็หมายความว่าในปีพ.ศ. 1790 ซึ่งเป็นปีที่สร้างเมืองนครศรีธรรมราชและเป็นปีเดียวกันกับการสร้างพระบรมธาตุในปี1719 (ซึ่งตรงกับบรรทึกของพระเจ้า นรปติสินธุกษัตริย์พม่าที่เมืองพุกาม)

๓ ..พ.ศ.1713.........ถึง.พ.ศ.1733............พระเจ้ามันละยาทิป เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช

1719 สร้างพระบรมธาตุ.... ดอนพระ..(วัดพระบรมธาตุปัจจุบัน) ร่วมสมัย กับ พระเจ้านรปติสิทธุกัตริย์ประเทศพม่า

๔. พ.ศ..........ถึง พ.ศ. 1752 มหาราชปรลัมพัตร พระเจ้าศรีธรรมโศกราชที่ ๓(ในศิลา.จารึก.ดงแม่นางเมืองหลักที่ 35 และจารึกฐานพระพุทธรูปนาคปรกหลักที่ 25 )ย้ายราชธานีจาก นครสิงหปุระมาสร้างเมืองนครศรีธรรมราช ที่กระหม่อมโคก (เมืองพระเวียง) เป็นราชธานีเมื่อราว พ.ศ. 1719

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้าศรีมหาราชาธิราชที่ 1

(ธรรมโศก ศรีธรรมราชที่ 6)

พ.ศ.1610 - พ.ศ.1649 มหาราชที่เกรียงไกร
พระเจ้าศรีมหาราชาธิราชที่ 2

(ศรีธรรมราชที่ 7)

พ.ศ.1649 - พ.ศ.1670 พระราชโอรสพระเจ้าศรีมหาราชาธิราชที่ 1
พระเจ้าศรีธรรมราชที่ 8

(พระกัมรเดง ชคตศรีธรรมาโศก)

พ.ศ.1670 - พ.ศ.1711 พระราชโอรสพระเจ้าศรีธรรมราชที่ 7
พระเจ้าศรีธรรมราชที่ 9

(พระกัมรเดง อัญศรีบรมวาสุเทพ)

พ.ศ.1711 - พ.ศ.1723 พระราชโอรสพระเจ้าศรีธรรมราชที่ 8

สร้างพระบรมธาตุดอนพระ(วัดพระบรมธาตุปัจจุบัน)(อ้างอิงข้อมูลเพจ)

พระเจ้าศรีธรรมราชที่ 10(พระอัญมหาราช ศรีมัตไตรโลกราชเมาลิ

ภูษณะ วรัมเทวะ) มหาราชสูรยนารายณ์ (อ้างอิงข้อมูลเพจ)

พ.ศ.1723 - พ.ศ.1770 พระราชโอรสพระเจ้าศรีธรรมราชที่ 9
พระเจ้าศรีธรรมราชที่ 11

(พระเจ้าจันทรภานุ)

พ.ศ.1770 - พ.ศ.1813 พระราชโอรสพระเจ้าศรีธรรมราชที่ 10

มเหสีชื่อพระนางเลือดแม่เจ้าอยู่หัว(อ้างอิงข้อมูลเพจ)

พระเจ้าศรีธรรมราชที่ 12

(พระเจ้าพงศ์สุราหะ)

พ.ศ.1813 - พ.ศ.1820 พระอนุชาพระเจ้าจันทรภาณุ

พระมเหสีชื่อพระนางอรวคุ(อ้างอิงข้อมูลเพจ)

เมืองร้าง[แก้]

ไม่ทันที่กษัตริย์พระองค์ใหม่จะขึ้นครองราช ก็เกิดยมบน เกิดโรคไข้ห่าในเมืองหลวงเสียก่อน..............................................................หลังจากนี้ เมืองนครศรีธรรมราช ก็เกิด โรคระบาดไข้ห่า (อหิวา) ผู้คนล่มตายจำนวนมาก ที่เหลือก็หนีเข้าป่า ภายในเมืองหลวง ไร้ผู้คน ถึงต้อง ทิ้งเมือง ปล่อยให้เมืองนครศรีธรรมราชเป็นเมืองร้างไร้ผู้คนเป็นเวลาช้านาน (ย้ายเมืองไปอยู่เขาวังอำเภอลานสกา) เป็นเวลา 5 ปี จนเมืองนครศรีธรรมราชกลายเป็นป่ารกร้าง เมื่อโรคระบาดสงบลง ก็ย้ายเมืองกลับมากลับมา ระยะนี้เมืองนครศรีธรรมราชบอบช้ำมาก ใหนจะภัยจากสงคราม ยังต้องเกิดโรคไข้ห่าอีก..........

ราชวงศ์ลานสกา[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
นายอู่ นายอยู่
หมื่นศรีจอมรัก นางบุญกอง
พระศรีมหาราชที่ 1 ? - พ.ศ.1820
พระศรีมหาราชาที่ 2

(นายธนู)

พ.ศ.1820 - พ.ศ.1861

พ.ศ. 1861 อยู่มาพระศรีมหาราชาถึงแก่กรรม ศักราช 1861 โปรดให้ข้าหลวงมาเป็นศรีมหาราชาแต่งพระธรรมศาลา ทำระเบียงล้อมพระมหาธาตุ และก่อเจดีย์ วัศสภ มีพระบัณฑูรให้พระศรีมหาราชาไปรับเมืองลานตกา ศรีมหาราชาถึงแก่กรรมเอาศพมาไว้ วัศศภ

ประเทศราชแห่งเพชรบุรี[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระพนมทะเลศรี มเหสวัสดิทราธิราช

(นางจันทรเทวี)

พ.ศ.1861 - ?
พระพนมวัง

(นางสะเดียงทอง)

? - พ.ศ.1885
พระเจ้าศรีธรรมโศกราช สุรินทราราชาสุ รวงค์ ธิบดีศีรยุธิษเถียรอภัย

ฑิริ ปรากรมพาหุ (นางสน) เจ้าพระยานครศรีธรรมราชมหานคร (เจ้าศรีราชา)

พ.ศ.1885 - ?

ปีพ.ศ. 1837 ถึงปีพ.ศ.1893 เมืองนครศรีธรรมราชยังมีฐานะเป็นเมืองพระยามหานคร หรือเมืองประเทศราช

พระนาม ปีครองราช หมายเหตุ
ขุนรัตนากร หลังปี พ.ศ......1861

เมืองพระยามหานคร[แก้]

พ.ศ.1893.......

ถูกรวบเข้ากับอาณาจักอยุธยา เมืองนครศรีธรรมราชตก อยู่ในกลุ่ม เมืองพระยามหานครที่ต้องถวายต้นไม้ทอง เครื่องราชบรรณาการแก่กรุงศรีอยุธยา

พระนาม ปีครองราช หมายเหตุ
ท้าวราชกฤษณา พ.ศ..........ถึง พ.ศ. ...... ท้าวราชกฤษณา และภรรยาออกญาราม เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช(ตำนานวัดพังยาง ระโนด)
หลวงศรีมหาวงค์ พ.ศ.1919 ถึง พ.ศ......... หลวงศรีมหาวงค์ เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช มาทำวิหารฝ่ายอุดรพระธาตุทักษิณพระโพธิมณเฑียร ก่อพระสูง 7 ศอก หล่อพระสำมฤฐองค์หนึ่งไว้ปัจฉิม เมียหล่อองค์หนึ่งไว้ฝ่ายบูรรพ์ ชื่อว่าเพหารเขียน (สร้างวิหารเขียน วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช)แล้วอุทิศข้าหญิงชายไร่นาไว้ สำหรับ รักษาพระ โปรดให้หลวงพิเรนทรเทพมาเป็นเจ้ามือง พระทิพราชาน้องพระญาสุพรรณเป็นปลัดศึก อารู้ ยกมาตีเมืองแล้วไปตีพัทลุงได้ ทิพราชาเป็นแม่ทัพไปตีคืนเล่า
หลวงพิเรนทรเทพ

หัวเมืองชั้นเอก[แก้]

พระนาม ปี หมายเหตุ
พ.ศ. 1998 ฐานะเมืองนครศรีธรรมราชเปลี่ยนเป็นหัวเมืองเอก
เจ้าพระญาศรีธรรมราช ชาติเดโชไชย มไหยสุริยาธิบดีอภัย พิริยบรากรมพาหุ พ.ศ.1998 - ?
พระยาพลเทพราช พ.ศ.2039 - ? โปรดให้พระยาพลเทพราชมาเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช (กำกับทำกำแพงเมือง ) กำแพงเมืองนครศรีธรรมราชถูกดัดแปลงเป็นกำแพงอิฐ โดยชาวโปรตุเกต แล้วเข้าไปกรุงไปทางเมืองสระ
ออกหลวงชัยราชาราชสงคราม ย้ายเจ้าเมืองพัทลุงไปเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช
ออกพระราชเดชชัย
เจ้าพระยาศรีธรรมโศกราช (ออกพระศรีไสยรัตน์รังสี) ? - พ.ศ.2072 ขุนอินทรเทพ ตั้งเป็นเจ้าพระยาศรีธรรมโศกราช หรือ ออกพระศรีไสยรัตน์รังสี ( ขุนนางเชื้อสายนครศรีธรรมราช) ซึ่งเป็นคนสนิทของพระมหาธรรมราชา
ออกขุนทรเนนทรเทพ ? - พ.ศ.2091
พระเจ้าศรีธรรมโศกราช พ.ศ.2105 ถึง พ.ศ.2122 ประมาณเวลาที่พระเจ้าศรีธรรมโศกราชสร้างวัดท่าช้างเป็นอารามหลวงแล้วให้พระสมโพธิสมภารเป็นอธิการ และ ท้าวโคตรคีรีเศรษฐีสร้างวัดเสมาทอง (ตรงบริเวณเจดีย์ยักษ์)สันนิษฐานว่าวัดนี้น่าจะอยู่ตรงเจดีย์ยักษ์ ชื่อพระเงินเป็นชื่อพระประธานวัดนี้
ปลัดเมือง ขึ้นรั้งเมือง พ.ศ..........ถึง พ.ศ. 2133
จ่าพลภาย ( รั้งเมืองนครศรีธรรมราช) พ.ศ. .......ถึง พ.ศ. 2139 มีตราโกษาธิบดีออกมาให้ จ่าพลภาย ( รั้งเมืองนครศรีธรรมราช)
พระยาศรีธรรมราชะเดชะ พ.ศ.2141 ถึง พ.ศ. 2144 โปรดให้ พระยาศรีธรรมราชะเดชะมาเป็นเจ้าเมืองอุชงคนะให้ลักปหม่าหนาเป็นแม่ทัพเรือมารบ เจ้าเมืองให้ขุดคูเมืองป้องกันข้าศึกจากเมืองยี่หน(รัฐยะโฮร์) ปัจจบันเรียกว่า คูขวาง เสียขุนคำแหงปลัดเมือง ณ รอปากพระญา ข้าศึกรุกเข้าถึงตีนกำแพงฝ่ายอุดร พระยาศรีธรรมราชออกรบ ศึกหนีไป
พระยารามราชท้ายน้ำ พ.ศ.2144 ถึง พ.ศ........... โปรดให้พระยารามราชท้ายน้ำมาเป็นเจ้าเมืองเอาขุนเยาวราชมาเป็นปลัดเมืิอง รู้ข่าวศึกอุชงคนะจึงพระยาให้ขุดฝ่ายบูรรพ์แต่ลำน้ำท่าวังมาออกลำน้ำฝ่ายทักษิณ (เสียชีวิตในที่รบ) พระยาแก้วก่อเจดีย์ไว้ในวิหารพระธรรมศาลา บรรจุอัฐิรามราชท้ายน้ำ เรียกว่า เจดีย์สวรรค์ พระยารามราชท้ายน้ำ เป็นขุนศึกคู่พระทัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ออกท้าวประทอง พ.ศ.2155 ถึง พ.ศ. 2163 ออกท้าวประทอง( ออกญาพัทลุง เจ้าเมืองพัทลุง มาเป็นเจ้าเมืองนครนครศรีธรรมราช ( เป็นลูกชายเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช คนก่อน ) เจ้าเมืองคนนี้มี ปริศนาในเรื่อง เจดีย์สวรรรค์ เพราะว่าเสียชีวิตในสนามรบ ที่หัวรอ ท่าพญาเช่นกัน
ออกญาพัทลุง พ ศ......... ถึงพ.ศ..................
ขุนอินทราเป็นศรีมหาราชา พ.ศ.2171 ถึง พ.ศ. 2172 ขุนอินทราเป็นศรีมหาราชา(กรุงศรีอยธยาแต่งตั้งมามาพร้อมกับนายสามจอมทำหน้าที่จดสารบาญชีที่ภูมิทัศแก่พระสงฆ์และศาสนสถานทั้งหลายในเมืองนครศรีธรรมราช)
ออกญาเสนาภิมุข (ยามาดะ) พ.ศ.2172 ถึง พ.ศ. 2173 ในปีพ.ศ. 2172 เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงค์ (ออกญากลาโหม) กำลังชุมพลเพื่อเตรียมการปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ ภายหลังพลักได้ดันให้ ออกญาเสนาภิมุข( ยามาดะ ) ไปเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชได้สำเร็จ ออกญาเสนาภิมุข( ยามาดะ) ได้ฆ่ากรมการเมืองนครศรีธรรมราช ที่เป็นปรปักษ์กับตนหลายคนและทั้งริบทรัพย์สมบัติของกรมการเมืองเหล่านั้น รวมทั้งของชาวเมืองไปให้พวกญี่ปุ่นที่ติดตามมาด้วย ต่อมา ยามาดะ ถูกวางยาพิษตาย ที่เมืองนครศรีธรรมราช
ออกขุนเสนาภิมุข (โอนิน) พ.ศ.2173.ถึง พ.ศ.2176 ออกขุนเสนาภิมุข (โอนิน) บุตร ยามาดะ ขึ้น เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. 2175 นครศรีธรรมราช เป็นกบฏต่อกรุงศรีอยุธยา ออกญาขุนเสนาภิมุข( โอนิน) ตั้งตนเป็นกษัตริย์( พระราชากำมะลอ)เมืองนครศรีธรรมราช เกิดกลียุค ชาวเมืองถูกออกขุนเสนาภิมุข ( โอนิน ) ปล้นฆ่าตายจำนวนมาก ชาวเมืองนครฯจึงต้องหนีตายออกนอกเมือง จนเมืองนครฯกลายเป็นเมืองร้าง ออกขุนเสนาภิมุขทิ้งเมืองถอยไปอยู่กัมพูชา.......เนื่องมาจากใน ปีพ.ศ. 2175 กรุงศรีอยุธยา ส่ง ออกญามะริด ซึ่งเป็นน้องชายเจ้าเมืองคนเก่า ลงมาปราบ เข้ายึดเมืองนครศรีธรรมราชคืน
กล่าวคือกองทัพเรือกรุงศรีอยุทยา ส่งออกญาท้ายน้ำกับออกพระศักดาพลฤทธิ์เป็นแม่ทัพ พร้อมด้วยพระยาเมืองนครศรีธรรมราชคนใหม่ สามารถปราบขบถลงได้โดยเร็ว ราว วันที่ 20 สิงหาคม 2175
ออกญามะริด
พ.ศ....พระบรมธาตุหัก..ในปี.พ.ศ.2190 ซ่อมเสร็จ......ตามจารึกที่ปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์นครฯ........สมัยพระเจ้าปราสาททอง ยอดพระบรมธาตุหักถึงรัตนบัลลังก์ (เกิดจากฝีมือมนุษย์) บรรทึกไว้ว่า....... เมื่อวันจันทร์เดือนหก แรมสีค่ำ ปีมะเมีย และซ่อมกลับคืนแล้วเสร็จใน เดือนสิบ วันศุกข์
พ.ศ....พระบรมธาตุหัก..ในปี.พ.ศ.2190 ซ่อมเสร็จ......ตามจารึกที่ปลียอดพระบรมธาตุเจดีย์นครฯ........สมัยพระเจ้าปราสาททอง ยอดพระบรมธาตุหักถึงรัตนบัลลังก์ (เกิดจากฝีมือมนุษย์) บรรทึกไว้ว่า....... เมื่อวันจันทร์เดือนหก แรมสีค่ำ ปีมะเมีย และซ่อมกลับคืนแล้วเสร็จใน เดือนสิบ วันศุกข์
เจ้าพระยานครศรีธรรมราช เดชไชยอภัยพีธีปรากรมพาหุ พ.ศ. 2192 ถึง พ.ศ.2197
พ.ศ. 2197 ถึง พ.ศ........... มีพระบรรทูลโปรดให้...... พระยาบริบาลพลราช เจ้าเมืองตะนาวศรี มาเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เดชไชยอภัยพิธีปรากรมพาหุ เจ้าพระญานครศรีธรรมราช
.เจ้าพระยานครฯ (ขุนทอง) พ.ศ..........ถึง พ.ศ..............
.แต่งตั้งผู้รั้งเมือง กรุงศรีอยุทธยาได้ลดอำนาจเมืองนครศรีธรรมราชลง โดยแต่งตั้งผู้รั้งเมืองและกรมการเมืองตามตำแหน่งพอสม
พ.ศ..........ถึง พ.ศ. ...... เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชถูกประหาร กรณีเรื่องศรีปราชญ์ (ใคร)
พ.ศ.2230 ออกญาพัทลุง พัทลุงมีจิตรศรัทธาบริจากแผ่นทองคำติดบนปลียอดพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ความสัมพันธ์ฉันเครือญาติ มีศักกราชกำกับว่า พ.ศ. 2230 เพื่อความสัมพันธ์ฉันเครือญาติและปกครอง 2เมือง
ออกญารามเดโช (หวาน) พ.ศ.2230 ถึง พ.ศ.2235 มาเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชแทนเจ้าเมืองคนเก่าท่ีถูกประหาร (ออกรามเดโช เป็นลูกชายเจ้าเมืองไทรบุรี ซึ่งเป็นชาวเปอร์เชีย) ต่อมาในปี พ.ศ. 2229 ถึงปี พ.ศ. 2235 พระยารามราชเดโช เป็นกบฏ กรุงศรีอยธยา
พ.ศ. 2235.................... เจ้าพระยารามเดโช .เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชหนีไปมาลายู
พระยายมราชสั่ง พ.ศ.......... ถึง พ.ศ. 2242
เจ้าพระยาศรีธรรมราช เดชชาติอำมาตยานุชิต พิพิทรัตนราชโกษาธิบดีอภัยพิริยบรากรมพาหุ พ.ศ 2242 ถึง พ.ศ........ (สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้เล่ม1 ปีพ.ศ. 2529 หน้าที่17)
.ใน ปีพ.ศ. 2244 ....พระเพทราชารับสั่งให้บูรณะ พระวิหารทับเกษตรและวิหารต่างๆวัดพระบรมธาตุที่ชำรุด
พ.ศ.2275 ถึง พ.ศ .......... โปรดเกล้าให้ ขุนชำนาญ (ดาบคู่) ไปเป็นพระยานครศรีธรรมราช ในนามเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่) ยศขุนนางชั้นพระยามหานคร(สารนคร ฉบับที่ 4 เมษายน 2556)
พ.ศ. 2258 ถึง พ.ศ......... ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยาได้โปรดให้ พระยาไชยาธิเบศร์ มาเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช
พ.ศ. 2297 พระยาพลเทพออกมาเป็นเจ้าเมืองนคร หลักฐานจากจารึกฐานพระลากวัดศรีทวี อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
พ.ศ.2300 ถึง พ.ศ. 2301 ปรากฏหลักฐานในทำเนียบศักดินา ข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช ครั้ง พระยาสุโขทัย มาเป็นเจ้าพระยาธรรมราช (บุญเลี้ยง) ปลายแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
พ.ศ.2301 ถึง พ.ศ.2310 พระยาสุราชสุภาวดี (ละคร หรือดอกไม้ ) เจ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีโปรดตั้งพระยาราชสุภาวดี เป็นว่าที่พระยาศรีธรรมโศกราชเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เป็นขุนนางนอกราชการตำแหน่ง คือ เจ้ากรมพระสุรัสวดีกลางศักดินา 5000 เป็นออกพระ ถูกอุธรณ์ต้องกลับ กรุงศรีอยุธยา มีชีวิตถึงรัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรี

ก๊กเจ้านครศรีธรรมราช[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
เจ้าพระยานคร ฯ (หนู) พ.ศ.2310 - พ.ศ. 2312

ธนบุรี[แก้]

พระรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
พระเจ้านราสุริยวงค์ พ.ศ.2312 - พ.ศ.2319 พระเจ้าหลานเธอสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เจ้าขัตติยราชนิคมสมมติมไหสวรรค์ พระเจ้านครศรีธรรมราช

(หนู)

วันอาทิตย์ เดือน 11 ขึ้น 3 ค่ำ พ.ศ.2319 - พ.ศ.2328

รัตนโกสินทร์[แก้]

พ.ศ.2328 ถึง พ.ศ. 2352 เจ้าพระยานครพัฒน์

พ.ศ.2354 ถึง พ.ศ. 2382 เจ้าพระยานคร(น้อย) วันอาทิตย์ แรม 4 ค่ำ เดือน 6 จุลศักราช2101 เจ้าพระยานครน้อยได้ถึงแก่อสัญกรรม รวมเวลาปกครองเมืองนครศรีธรรมราช 28 ปี

พ.ศ.2382 ถึง พ.ศ. 2440 พระเสน่หามนตรี (น้อยกลาง)

พ.ศ.2440 ถึง พ.ศ. 2447 พระสุธรรมมนตรี(หนูพร้อม)

พ.ศ.2447 ถึง พ.ศ. 2449 พลเอกเจ้าพระยาบดินเดชานุชิด(แย้ม ณ นคร)

ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช[แก้]

พ.ศ.2459.ถึง พ.ศ........จากผู้ว่าการเมือง ........ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด

พ.ศ.2475...................มณฑลนครศรีธรรมราช ได้ยุบเป็นจังหวัด มีผู้ว่า ราชการจังหวัด

1.พ.ศ .2440 - 2447 เจ้าพระยาสุธรรรมนตรีศรีธรรมรา (หนูพร้อม ณ นคร)

2 .พ.ศ. 2477 - 2479 พระยาสนทร ธุรกิจ (หมี ณ ถลาง)

3. 3 พ.ย. 2449 - 1 มี.ค .2542 พระยาตรังภูมิบาล (ถนอม บุญยเกตุ )

4. 15มิ.ย. 2452 - 13 ก.ค.2455 พระยาศีรีธรรมบริรักษ์ (เย็น สุวรรณปัทม)

5. 13 ก.ค. 2455 - 5 มี.ค. 2462 พระยาประชากิจกรจักร์ ( พัด มหาเปารยะ )

6. 6 ม.ค. 2462 - 26 มิ.ย. 2474 พระยารัษฏานุประดิษฐ์ ( สิน เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

7. 26มิ.ย. 2474 - 23 ก.พ. 2475 พระยาสุรพลพิพิธ(เป้า สุมนดิษฐ์)

อ้างอิง[แก้]

อ้างอิงข้อมูล หนังสือทักษิณรัฐ ของ ศ.มานิต วัลลิโภดม โดย กรมศิลปากร

หนังสือ ประวัติสังเขปพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช กับเรื่องเมืองนคร เจริญชัย พุทธรัต

สามเมืองแชลแนล - โพสต์ | Facebook

ประวัติศาสตร์เมืองระยอง[แก้]

ประมาณ 2,000 ปีที่แล้ว[แก้]

การเจริญขึ้นของชุมชนระยองโบราณ เจริญขึ้นมาเมื่อราว 2,000 ปีที่แล้วโดยชุมชนระยองโบราณเป็นสถานีการค้า เชื่อมต่อกับเมืองพญ่าเร่และเมืองพนัญนิคม จังหวัดชลบุรี ชุมชนระยองโบราณเดิมตั้งอยู่บริเวณวัดบ้านค่าย อำเภอบ้านค่าย ก่อนที่จะขยับขยายลงมาบริเวณปากน้ำระยอง โดยปรากฎหลักฐานพระพุทธรูปศิลปะฟูนันและทวารวดีหลายองค์บริเวณ อ.บ้านค่าย

ชนชาติดั่งเดิมที่อาศัยบริเวณระยองโบราณคือชนชาติชอง ซึ่งพูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร และกลุ่มมลายู ก่อนที่จะหันมาพูดภาษาไทย เพราะเป็นภาษากลางทางการค้าของภูมิภาค และกลายตัวเป็นคนไทยในที่สุด

ก่อนกรุงศรีอยุธยา[แก้]

เมืองระยองปรากฎหลักฐานชัดเจนถึงอารยธรรมเขมรที่เผยแพร่เข้ามาในระยอง โดยปรากฎคูและซากศิลาแลงที่บ้านคลองยายล้ำ ตำบลบ้านค่าย อำเภอบ้านค่าย รวมทั้งพระพุทธรูปแบบบายนซึงปัจจุบันอยู่ที่วัดป่าประดู่ อำเภอเมืองระยอง

ประมาณพ.ศ.1700 จีนนำสำเภามาค้าขายทางทะเลและหนุนรัฐสุพรรณภูมิ ทำให้ชาวจีนจึงเริ่มเข้ามาอยู่อาศัยในจังหวัดระยอง

นครพนม[แก้]

ลำดับกษัตริย์อาณาจักรโคตรบูร[แก้][แก้]

สมัยเรืองอำนาจ (ก่อนพุทธศตวรรษถึงศตวรรษที่ 6)[แก้][แก้]

1. พระยาศรีโคตรบูร หรือพระยาศรีโคตรบอง

2. พระยานันทเสนา หรือพระยานันทเสน ผู้ร่วมสร้างพระธาตุพนม

3. พระยานางเทวบุปผาเทวี รักษาราชการ

4. พระยามรุกขนคร ย้ายราชธานีจากเมืองศรีโคตรบูรไปเมืองมรุกขนคร

5. พระยาสุมิตตะธัมมะวงสา หรือพระยาสุมิตตะธัมมะวงสาเอกะราชามรุกขนคร

6. พระยาสุมินทราช หรือพระยาสุบินราช

7. พระยาทุฏฐคามนี

8. พระยานิรุทราช หรือพระยารุทธราช

สมัยอิทธิพลขอม (ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19)[แก้][แก้]

1. พระยากะบองที่ 1

2. พระยากะบองที่ 2

3. พระยากะบองที่ 3

4. พระยากะบองที่ 4

5. พระยากะบองที่ 5

6. พระยากะบองที่ 6

7. พระยากะบองที่ 7 หรือพระยานันทเสน หรือพระยาแปดบ่อ หรือพระยาสามคอ หรือพระยาสามล้าน

8. พระยากะบองที่ 8 พระอนุชาพระยานันทเสน

9. พระยากะบองที่ 9 หรือเจ้าโคตะ หรือเจ้าสีโคต พระราชโอรสพระเจ้ารามบัณฑิต ย้ายราชธานีไปเมืองเก่าท่าแขก

สมัยอาณาจักรล้านช้าง (ปลายพุทธศตวรรษที่ 18-22)[แก้][แก้]

1. หมื่นกะบอง หรือบาเสียม ต่อมาได้เป็นเจ้าหัวเศิกปกครองหัวเมืองลาวตั้งแต่เมืองพระน้ำฮุ่งเชียงสาถึงแดนจาม

2. พระยาหมื่นบ้าน หรือท้าวลือชัย ต่อมาได้เป็นกษัตริย์หลวงพระบาง

3. ท้าวหมื่นหลวง

4. ท้าวก้อนคำ

5. พระยาแสนหลวงล้านช้าง

6. แสนนคร

7. พระยานคร เคยรักษาเมืองเชียงใหม่อยู่ระยะเวลาหนึ่ง

8. พระยานคร หรือแสนช้างถ่าว

9. พระยานคร ผู้ลอบปลงพระชนม์สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๑ มหาราช

10. พระยานครน้อย

11. พระวรปิตาพระยาราชานคร ต่อมาได้เป็นกษัตริย์เวียงจันทน์

12. พระยามหานาม หรือพระเจ้าบัณฑิตโพธิศาลราช ต่อมาได้เป็นกษัตริย์เวียงจันทน์

13. เจ้าพระยาหลวงนครพิชิตราชธานีศรีโคตรบูรหลวง หรือเจ้าหน่อเมือง

14. เจ้านครวรกษัตริย์ขัติยราชวงศา

15. พระเจ้านันทราช หรือเจ้านัน ต่อมาได้เป็นกษัตริย์เวียงจันทน์

16. เจ้าโพธิสาลราชธานีศรีโคตรบูร หรือเจ้าโพธิสา

17. พระบรมราชาพรหมา

18. เจ้าวิชุลผลิตอากาศ ครองราชย์ 7 ปีถูกเนรเทศ

19. เจ้าพระยาเมืองแสน รักษาราชการ

สมัยอาณาจักรเวียงจันทน์ (พุทธศตวรรษที่ 22-23)[แก้][แก้]

1. พระยาศรีโคตรบอง (ท้าวเชียงยาหรือท้าวสี) อดีตเจ้าเมืองเป็งจาน บางแห่งว่าอดีตเจ้าเมืองพระตระบอง

2. พระบรมราชา (เจ้าราชบุตรบุญน้อย)

3. พระยาขัติยวงศาราชบุตรามหาฤๅไชย ไตรทศฤๅเดชเชษฐบุรี ศรีโคตรบูรหลวง พระราชโอรสกษัตริย์เมืองระแหงในลาว

4. พระบรมราชา (เจ้าแอวก่านหรือท้าวเฮงก่วน)

5. พระนครานุรักษ์ (เจ้าคำสิงห์)

เจ้าเวียงจันทร์ตั้งนายคำสิงห์เป็นเจ้าเมือง

6. พระบรมราชา (เจ้ากู่แก้ว)

อยู่ได้ 12 ปี จ.ศ. 1240 พระวอนำกำลังจากกรุงเทพมาตีเวียงจันทน์แตก พระบรมราชา (เจ้ากู่แก้ว) จึงพาครอบครัวไปตั้งค่ายกวนหมูได้ 5 เดือนถึงแก่กรรม

7. พระบรมราชา (เจ้าพรหมา)

ท้าวพรหมาจึงพาครอบครัวบ่าวไพร่ออกมาอยู่เมืองนครพนม แล้วได้เป็น พระบรมราชา เจ้าเมืองนครพนม อุธทังเป็นอุปราช ศรีวิไชเป็นราชวงศ์ ได้ออกไปถวายดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง แต่ จ.ศ. 1242 อยู่ในราชการได้ 12 ปีคิดกบฏต่อเจ้าเวียงจันทน์เมื่อ จ.ศ. 1155 พระเจ้าเวียงจันทน์นัน มีหนังสือไปขอกำลังจากเวียดนาม เวียดนามไม่ให้ จึงลงไปบอก กทม จึงโปรดให้นำกองทัพมาจับเจ้าพรหมาลงไปอยู่กทม พระบรมราชาลงมากรุงเทพเมื่อ จ.ศ. 1156 ต้องโทษพระราชอาญา 100 ที

หนานมาล้อมเมืองเชียงใหม่ จึงโปรดให้เจ้านันไปช่วยเชียงใหม่ ได้ชัยชนะ พระบรมราชาพรหมาขึ้นไปถึงเมืองเถิน จึงเบื่อผักหวานเลยแก่กรรม

8. พระบรมราชา (เจ้าศรีกุลวงษ์)

9. เจ้าศรีสุราช รักษาราชการ

10. เจ้าอินทร์ศรีเชียงใหม่ (ท้าวสุดตา)

11. พระบรมราชา (เจ้าพรหมา)

12. พระบรมราชา (ท้าวสุดตา)

13. พระบรมราชากิตติศัพท์เทพฤๅยศ ทศบุรีศรีโคตรบูรหลวง (เจ้ามังหรือท้าวศรีสุมังค์)

สมัยกษัตริย์ประเทศราชและหัวเมืองชั้นเอกของสยาม (หลังปลาย พ.ศ. 2300)[แก้][แก้]

1. พระสุนทรราชวงศามหาขัตติยชาติ ประเทศราชชวาเวียงดำรงรักษ ภักดียศฦๅไกรศรีพิไชยสงคราม (เจ้าฝ่ายบุต) เดิมเป็นเจ้าผู้ครองเมืองยศสุนทรประเทศราช

2. พระพนมนครานุรักษ์ ศรีสิทธิศักดิ์เทพฤๅยศบุรี ศรีโคตบูรหลวง หรือพระพนมนโรนุรักษาธิบดีสีโคตตบองหลวง (ท้าวจันโท)

3. พระยาพนมนครานุรักษ์ สิทธิศักดิ์เทพฤๅยศทศบุรี ศรีโคตบูรหลวง (เจ้าอรรคราช)

4. ท้าวจันทร์น้อย ปกครองอยู่ระยะเวลาหนึ่ง

5. พระยาพนมนครานุรักษ์ (ท้าวเลาคำ)

6. เจ้าราชวงษ์ (ท้าวคำ) รักษาราชการอยู่ระยะเวลาหนึ่งต่อมาเป็นพระยาประเทศธานีเจ้าเมืองสกลทวาปีองค์แรก

7. พระยาพนมนครานุรักษ์ (ท้าวบุญมาก)

8. พระยาพนมนครานุรักษ์ (ท้าวจันทร์ทองทิพย์) ต่อมาเป็นเจ้าเมืองท่าแขก

9. พระยาพนมนครานุรักษ์ (ท้าวยศวิชัย)

10. พระยาพนมนครานุรักษ์ (ท้าวกา) ต่อมาเป็นผู้ว่าราชการเมืองนครพนมท่านแรก

  1. ดร.ตรงใจ, หุตางกูร (2020), ไม่มี พรญาไสลือไท ในจารึกสุโขทัย, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร - SAC, สืบค้นเมื่อ 2023-04-03
  2. "จารึกวัดบูรพาราม ด้านที่ 1". db.sac.or.th. ฐานข้อมูลจารึกแห่งประเทศไทย ศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. 3.0 3.1 3.2 ปกรณ์ ทรงม่วง. 2539. ปริญญานิพนธ์ เรื่อง การวิเคราะห์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.  
  4. Simms, Peter and Sanda, The Kingdoms of Laos: Six Hundred Years of History, Curzon Press, Surrey. 1999. ISBN 0-7007-1531-2. (pg. 217); Le Boulanger, Paul, Histoire du Laos Francais: Essai d'une Etude chronologique des Principautes Laotiennes, Plon, Paris. 1931 (pg.31); Dommen, Aurthur, J., Conflict in Laos: The Politics of Neutralization, Pall Mall Press, London. 1964. (pg. 64); Hall, D.G.E., A History of Southeast Asia (4th ed.), Macmillan, London, 1994. ISBN 978-0333241646 (pg. 81)
  5. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Sila, 64; Manich, 67; Hall, 81; Stuart-Fox, 93)
  6. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Hall, 81)
  7. Simms, 99; Sila, Maha Viravong, History of Laos (trans), Paragon, New York. 1964.
  8. (Simms, 99; Sila, 64)
  9. 9.0 9.1 (Simms, 99; Le Boulanger, 31)
  10. (Simms, 99; Sila, 64; Manich, 71; Le Boulanger, 31)
  11. (Simms, 99; Sila, 64; Manich, 71)
  12. Stuart-Fox, Martin “Who was Maha Thevi?" Siam Society Journal, Vol 81. 1993.; ---, The Lao Kingdom of Lan Xang: Rise and Decline, White Lotus Press, 1998. ISBN 974-8434-33-8. (pgs. 62-64).
  13. (Simms, 99; Manich, 71)
  14. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Dommen, 64)
  15. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Hall, 81; Wyatt, David K. & Aroonrut Wichienkeeo (Ed.), The Chiang Mai Chronicle (trans), Silkworm, Chiang Mai, 1995. ISBN 9747100622
  16. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Hall, 81; Wyatt, 84)
  17. (Simms, 99; Sila, 64; Coedes, George, The Making of Southeast Asia (trans) Routledge & Kegan Paul, London, 1966.; Stuart-Fox, 93)
  18. (Simms, 218; Manich, 67; Saveng, 87; Wyatt, 84)
  19. (Sila, 64; Saveng, Phinith, Contribution a l'Histoire du Royaume de Luang Prabang., École Française d'Extrême-Orient, Vol. CXLI, Paris, 1987.)
  20. (Sila, 64; Manich, 67; Saveng, 87)
  21. (Simms, 99; Hall, 81; Saveng, 87)
  22. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Sila, 64; Hall, 81)
  23. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Coedes, 66; Hall, 81; Saveng, 87
  24. (Sila, 64; Saveng, 87)
  25. (Simms, 99; Le Boulanger, 31; Sila, 64)
  26. (Simms 99, Le Boulanger, 31; Sila, 64)
  27. (Sila, 64)
  28. 28.0 28.1 Simms, Sanda (2013-10-11). The Kingdoms of Laos (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 9781136863370.
  29. (Coedes, 66; Le Boulanger, 31; Dommen, 64; Saveng, 87; Stuart-Fox, 93)
  30. (Simms, 99, Le Boulanger, 31; Hall, 81)
  31. (Saveng, 87)
  32. (Wyatt, 84; Le Boulanger, 31; Dommen, 64; Hall, 81)