ผู้ใช้:Boom1221/กระบะทราย5

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สารบัญกระบะทราย: หลัก, ว่าง, ดาวเคราะห์, ว่าง, นิยามดาวเคราะห์, ค้างคาว

ค้างคาว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยอีโอซีนปัจจุบัน
ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดาค้างคาวมงกุฎใหญ่ค้างคาวผลไม้จมูกสั้นใหญ่ค้างคาวผลไม้อียิปต์ค้างคาวหางอิสระเม็กซิโกค้างคาวหูหนูใหญ่
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
เคลด: สโกรไทเฟอรา
อันดับ: ค้างคาว
Blumenbach, 1779
อันดับย่อย

(ดั้งเดิม):

(ใหม่):

การกระจายตัวของชนิดค้างคาว

ค้างคาวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในอันดับค้างคาว (Chiroptera[a]) ค้างคาวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดเดียวที่บินได้จริงและต่อเนื่องด้วยขาหน้าที่ปรับตัวกลายเป็นปีก ค้างคาวบินได้คล่องตัวกว่านก เนื่องด้วยขาที่ยื่นยาวออกมาและคลุมไปด้วยเยื่อบุผิวบาง ๆ หรือพาทาเจียม ค้างคาวขนาดเล็กที่สุด คือ ค้างคาวคุณกิตติ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็กที่สุดด้วย ลำตัวยาว 29–34 มิลลิเมตร เมื่อกางปีกออกมีความยาว 15 เซนติเมตร และหนัก 2–2.9 กรัม ค้างคาวขนาดใหญ่ที่สุด คือ ค้างคาวในสกุลเทอโรปุส และค้างคาวชนิด Acerodon jubatus ซึ่งหนักได้ถึง 1.6 กิโลกรัม และมีความยาวตลอดปีกที่ 1.7 เมตร

ค้างคาวเป็นอันดับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองรองจากอันดับสัตว์ฟันแทะ ค้าวคาวคิดเป็น 20 % ของจำนวนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทั้งหมด โดยมีมากกว่า 1,200 ชนิด ค้างคาวได้รับการจำแนกออกเป็นสองอันดับย่อยโดยดั้งเดิม ได้แก่ ค้างคาวผลไม้ที่เป็นส่วนใหญ่ และค้างคาวกินแมลงที่สามารถใช้เสียงสะท้อนระบุตำแหน่งที่ตั้งได้ แต่หลักฐานใหม่เมื่อไม่นานมานี้สนับสนุนการจำแนกอันดับออกเป็นอันดับย่อย Yinpterochiroptera และ Yangochiroptera โดยจัดค้างคาวผลไม้บางกลุ่มรวมกับค้างคาวกินแมลงหลายชนิดในอันดับย่อยแรก ค้างคาวจำนวนมากบริโภคแมลง และส่วนใหญ่ของค้างคาวที่เหลือบริโภคผลไม้ มีค้างคาวบางชนิดที่บริโภคสัตว์อื่นเป็นอาหารแทนแมลง เช่น ค้างคาวแวมไพร์ที่บริโภคเลือด ค้างคาวส่วนใหญ่เป็นสัตว์ออกหากินตอนกลางคืน และส่วนใหญ่ในจำนวนนี้ก็เกาะอาศัยอยู่ในถ้ำหรือที่พักอื่น ไม่เป็นที่แน่ชัดว่าค้างคาวมีพฤติกรรมเช่นนี้เพื่อหลีกเลี่ยงจากผู้ล่าเหยื่อ ค้างคาวพบได้ทั่วโลกยกเว้นในบางบริเวณที่หนาวจัด ค้างคาวเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบนิเวศในการผสมเกสรดอกไม้และกระจายเมล็ดของดอกไม้ไปตามที่ต่าง ๆ พืชเขตร้อนจำนวนมากต้องพึ่งพาค้างคาวเหล่านี้ในการผสมเกสรและการกระจายเมล็ด

ค้างคาวให้ประโยชน์บางอย่างแก่มนุษย์ แต่แลกมากับภัยคุกคามบางอย่าง มูลค้างคาวสามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยขี้นกได้ ค้างคาวยังบริโภคแมลงศัตรูพืช ลดความต้องการในสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ บางครั้งค้างคาวก็มีจำนวนมากพอที่จะกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว และใช้บริโภคเป็นอาหารในทวีปเอเชียและขอบแปซิฟิก ค้างคาวยังเป็นพาหะธรรมชาติของจุลชีพก่อโรคหลายชนิด เช่น โรคพิษสุนัขบ้า และเนื่องจากค้างคาวเคลื่อนไหวได้ง่ายมาก ชอบสมาคม และมีอายุยืน ค้างคาวจึงแพร่โรคได้อย่างรวดเร็ว ในวัฒนธรรมจำนวนมาก ค้างคาวมักมีความเกี่ยวข้องกับความมืด ความประสงค์ร้าย เวทมนตร์ แวมไพร์ และความตาย

รากศัพท์[แก้]

ชื่อเก่าของค้างคาวในภาษาอังกฤษ คือ flittermouse ซึ่งสอดคล้องกับคำว่าค้างคาวในภาษาเจอร์แมนิกอื่น ๆ (ตัวอย่างเช่น Fledermaus ในภาษาเยอรมันและ fladdermus ในภาษาสวีเดน) โดยตัวคำเกี่ยวข้องกับการกระพือปีก ในภาษาอังกฤษสมัยกลางมีคำว่า bakke ซึ่งอาจมีรากศัพท์เดียวกันกับคำว่า natbakka ในภาษาสวีเดนเก่า ("ค้างคาวกลางคืน") และอาจเกิดการเลื่อนจาก -k- เป็น -t- (กลายเป็น bat ในภาษาอังกฤษสมัยใหม่) โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาละตินว่า blatta แปลว่า "ผีเสื้อกลางคืน แมลงกลางคืน" คำว่า "bat" อาจใช้ครั้งแรกในช่วงต้นทศวรรษ 1570[2][3] ส่วนชื่อ "Chiroptera" มีรากศัพท์จากกรีกโบราณ: χείρcheir "มือ"[4] and πτερόν – pteron "ปีก"[1][5]

วิวัฒนาการและอนุกรมวิธาน[แก้]

วิวัฒนาการ[แก้]

โครงกระดูกอันละเอียดอ่อนของค้างคาวไม่กลายเป็นซากดึกดำบรรพ์ได้ดีนัก และมีการประมาณว่าสกุลค้างคาวที่เคยมีชีวิตอยู่จำนวน 12% พบได้ในบันทึกซากดึกดำบรรพ์[6] ซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดส่วนใหญ่นั้นมีลักษณะคล้ายคลึงกับค้างคาวกินแมลงสมัยใหม่ เช่น Archaeopteropus (32 ล้านปีก่อน)[7] ค้างคาวที่สูญพันธุ์ไปแล้วอย่าง Palaeochiropteryx tupaiodon (48 ล้านปีก่อน) และ Hassianycteris kumari (55 ล้านปีก่อน) เป็นซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมดึกดำพบรรพ์แรกที่มีสี โดยเป็นสีน้ำตาลแดงทั้งคู่[8][9]

ค้างคาวแต่เดิมได้รับการจัดกลุ่มในอันดับใหญ่อาร์คอนตาร่วมกับกระแต (Scandentia) บ่าง (Dermoptera) และวานร[10] หลักฐานทางพันธุกรรมสมัยใหม่วางค้างคาวในอันดับใหญ่ลอเรเซียเธอเรียด้วยกันกับกลุ่มพี่น้องอย่างเฟเรวอุนกูลาตา ซึ่งประกอบไปด้วยสัตว์กินเนื้อ ลิ่น สัตว์กีบคี่ สัตว์กีบคู่ และวาฬ–โลมา[11][12][13][14][15] ผลการศึกษาหนึ่งวางอันดับค้างคาวเป็นกลุ่มพี่น้องกับอันดับสัตว์กีบคี่ (Perissodactyla)[16]

บอรีโอยูเธอเรีย

ยูอาร์คอนโทไกลริส (วานร กระแต สัตว์ฟันแทะ กระต่าย)


ลอเรเซียเธอเรีย

ยูลิโพไทเฟลอ (เม่น หนูผี ตุ่น โซเลโนดอน)


สโกรทิเฟอรา

ค้างคาว


เฟอเรวอุงกูลาตา
เฟอรี

ลิ่น



สัตว์กินเนื้อ (แมว ไฮยีนา หมา หมี แมวน้ำ)



สัตว์กีบ

สัตว์กีบคี่ (ม้า สมเสร็จ แรด)



สัตว์กีบคู่ (อูฐ สัตว์เคี้ยวเอื้อง วาฬ)







ต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์แสดงอันดับค้างคาวอยู่ภายในลอเรเซียเธอเรีย โดยมีเฟอเรวอุงกูลาตาเป็นกลุ่มพี่น้องตามผลการศึกษาปี 2556[15]

ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการชาติพันธุ์ของกลุ่มค้างคาวที่แตกต่างกันเป็นข้อถกเถียงอย่างมากในปัจจุบัน การจำแนกเป็นค้างคาวผลไม้และค้างคาวกินแมลงอย่างที่เคยปฏิบัติกันมาสะท้อนมุมมองที่ว่าค้างคาวทั้งสองกลุ่มนั้นพัฒนาโดยเป็นอิสระต่อจากกันเป็นระยะเวลานานจากบรรพบุรุษร่วมที่บินได้อยู่แล้ว สมมติฐานนี้ยอมรับความแตกต่างระหว่างค้างคาวกินแมลงและค้างคาวผลไม้ และรับรู้ว่าการบินนั้นมีวิวัฒนาการเพียงครั้งเดียวในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม หลักฐานชีวโมเลกุลส่วนใหญ่สนับสนุนมุมมองที่ค้างคาวนั้นรวมกันเป็นกลุ่มธรรมชาติหรือชาติพันธุ์เดียว[7]

ค้างคาว

ค้างคาวผลไม้

Pteropodidae (กลุ่มค้างคาวผลไม้)




ค้างคาวกินแมลง

Rhinolophoidea

Megadermatidae (ค้างคาวแวมไพร์แปลง)





Craseonycteridae (ค้างคาวคุณกิตติ)



Rhinopomatidae (ค้างคาวหางหนู)





Hipposideridae (ค้าวคาวหน้ายักษ์)



Rhinolophidae (ค้างคาวมงกุฎ)







Yangochiroptera




Miniopteridae (ค้างคาวปีกพับ)







Noctilionidae (fisherman bats)



Mormoopidae (เทอโรโนตุส)







Mystacinidae (ค้างคาวหางสั้นนิวซีแลนด์)



Thyropteridae (ค้างคาวปีกแผ่น)





Furipteridae



Mormoopidae (Mormoops)





Phyllostomidae (ค้าวคาวจมูกใบไม้โลกใหม่)








Molossidae (ค้างคาวปากย่น)



Emballonuridae (sac-winged bats)






Myzopodidae (sucker-footed bats)



Emballonuridae (ค้างคาวหางโผล่)





Natalidae (funnel-eared bats)



Vespertilionidae (ค้างคาวลูกหนู)












ความสัมพันธ์ภายในอันดับค้างคาว แบ่งออกโดยดั้งเดิมตามผลการศึกษาปี 2554 เป็นค้างคาวผลไม้และค้างคาวกินแมลง[17]

หลักฐานทางพันธุกรรมชี้ว่าค้างคาวผลไม้กำเนิดขึ้นเมื่อต้นสมัยอีโอซีน และอยู่ในสายวิวัฒนาการหลักสี่สายของค้างคาวกินแมลง[15] อันดับย่อยใหม่สองอันดับย่อยได้รับการเสนอเข้ามา ได้แก่ Yinpterochiroptera ประกอบไปด้วยวงศ์ค้างคาวผลไม้ เช่นเดียวกับวงศ์ค้างคาวมงกุฎ วงศ์ค้างคาวหน้ายักษ์ วงศ์ค้างคาวคุณกิตติ วงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง และวงศ์ค้างคาวหางหนู[18] และ Yangochiroptera ประกอบไปด้วยค้างคาววงศ์อื่น ๆ (ทั้งหมดที่ใช้การกำหนดวัตถุที่ตั้งด้วยเสียงสะท้อนจากกล่องเสียง) โดยเป็นข้อสรุปที่สนับสนุนโดยผลการศึกษาดีเอ็นเอปี 2548[18] ผลการศึกษาไฟโลจีโนมิกส์ปี 2556 สนับสนุนอันดับย่อยเสนอใหม่ทั้งสอง[15]

ค้างคาว


Yangochiroptera (ตามข้างบน)



Yinpterochiroptera

Pteropodidae (ค้างคาวผลไม้)



Rhinolophoidea

Megadermatidae (ค้างคาวแวมไพร์แปลง)



ค้างคาวมงกุฎและค้างคาวใกล้เคียง








ความสัมพันธ์ภายในอันดับค้างคาวตามผลการศึกษาปี 2556 ที่ค้างคาวผลไม้รวมเข้ากับ Yinpterochiroptera[15]
Giant golden-crowned flying fox Acerodon jubatus

In the 1980s, a hypothesis based on morphological evidence stated the Megachiroptera evolved flight separately from the Microchiroptera. The flying primate hypothesis proposed that, when adaptations to flight are removed, the Megachiroptera are allied to primates by anatomical features not shared with Microchiroptera. For example, the brains of megabats have advanced characteristics. Although recent genetic studies strongly support the monophyly of bats,[7] debate continues about the meaning of the genetic and morphological evidence.[19]

The 2003 discovery of an early fossil bat from the 52 million year old Green River Formation, Onychonycteris finneyi, indicates that flight evolved before echolocative abilities.[20][21] Onychonycteris had claws on all five of its fingers, whereas modern bats have at most two claws on two digits of each hand. It also had longer hind legs and shorter forearms, similar to climbing mammals that hang under branches, such as sloths and gibbons. This palm-sized bat had short, broad wings, suggesting that it could not fly as fast or as far as later bat species. Instead of flapping its wings continuously while flying, Onychonycteris probably alternated between flaps and glides in the air.[7] This suggests that this bat did not fly as much as modern bats, but flew from tree to tree and spent most of its time climbing or hanging on branches.[22] The distinctive features of the Onychonycteris fossil also support the hypothesis that mammalian flight most likely evolved in arboreal locomotors, rather than terrestrial runners. This model of flight development, commonly known as the "trees-down" theory, holds that bats first flew by taking advantage of height and gravity to drop down on to prey, rather than running fast enough for a ground-level take off.[23][24]

The molecular phylogeny was controversial, as it pointed to microbats not having a unique common ancestry, which implied that some seemingly unlikely transformations occurred. The first is that laryngeal echolocation evolved twice in bats, once in Yangochiroptera and once in the rhinolophoids.[25] The second is that laryngeal echolocation had a single origin in Chiroptera, was subsequently lost in the family Pteropodidae (all megabats), and later evolved as a system of tongue-clicking in the genus Rousettus.[26] Analyses of the sequence of the vocalization gene FoxP2 were inconclusive on whether laryngeal echolocation was lost in the pteropodids or gained in the echolocating lineages.[27] Echolocation probably first derived in bats from communicative calls. The Eocene bats Icaronycteris (52 million years ago) and Palaeochiropteryx had cranial adaptations suggesting an ability to detect ultrasound. This may have been used at first mainly to forage on the ground for insects and map out their surroundings in their gliding phase, or for communicative purposes. After the adaptation of flight was established, it may have been refined to target flying prey by echolocation.[22] Bats may have evolved echolocation through a shared common ancestor, in which case it was then lost in the Old World megabats, only to be regained in the horseshoe bats; or, echolocation evolved independently in both the Yinpterochiroptera and Yangochiroptera lineages.[28] Analyses of the hearing gene Prestin seem to favour the idea that echolocation developed independently at least twice, rather than being lost secondarily in the pteropodids,[29] but ontogenic analysis of the cochlea supports that laryngeal echolocation evolved only once.[30]

การจัดจำแนก[แก้]

ค้างคาวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีสายรก และยังเป็นอันดับที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากอันดับสัตว์ฟันแทะ โดยคิดเป็น 20% ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทั้งหมด[31] ในปี 2301 คาโรลัส ลินเนียสจำแนกค้างคาว 7 ชนิดที่เขารู้จักไว้ในสกุล Vespertilio ในอันดับวานร ประมาณยี่สิบปีต่อมา โยฮันน์ ฟรีดริช บลูเมินบาค นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันจำแนกค้างคาวให้อยู่ในอันดับค้างคาวแยกต่างหาก[32] นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จำนวนสปีชีส์ที่ได้รับการบรรยายลักษณะแล้วเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 1,200 ชนิด แต่เดิมแบ่งออกเป็นสองอันดับย่อย ได้แก่ Megachiroptera (ค้างคาวผลไม้หรือเมกะแบท) และ Microchiroptera (ค้างคาวกินแมลงหรือไมโครแบท)[33] ไม่ใช่ค้างคาวผลไม้ทุกตัวที่มีขนาดใหญ่กว่าค้างคาวกินแมลง[34] ลักษณะหลายประการทำให้ทั้งสองกลุ่มแตกต่าง โดยค้างคาวกินแมลงใช้การกำหนดวัตถุที่ตั้งด้วยเสียงสะท้อนสำหรับนำทางและค้นหาเหยื่อ แต่ค้างคาวผลไม้ทุกตัวยกเว้นค้างคาวสกุล Rousettus ไม่สามารถทำพฤติกรรมดังกล่าวได้ โดยต้องพึ่งพาสายตาของพวกมันเองแทน[35] ค้างคาวผลไม้จึงมีเปลืองสมองส่วนการมองเห็นที่พัฒนาเป็นอย่างดีและมีระดับสายตาที่ดีเช่นกัน[33] ค้างคาวผลไม้มีกรงเล็บที่นิ้วที่สองของขาหน้า[36][37] หูชั้นนอกของค้างคาวกินแมลงไม่ได้ปิดจนเกิดเป็นวงแหวน ขอบหูค้างคาวแยกออกจากกันที่ฐานของหู[37] ค้างคาวผลไม้กินผลไม้ น้ำหวานเกสรดอกไม้ หรือเรณูเป็นอาหาร ขณะที่ค้างคาวอีกกลุ่มส่วนใหญ่กินแมลงเป็นอาหาร นอกจากนี้ค้างคาวกินแมลงบางส่วนยังกินผลไม้ น้ำหวานเกสรดอกไม้ เรณู ปลา กบ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก หรือเลือดเป็นอาหารได้[33]

"อันดับค้างคาว" จากหนังสือคุนสท์ฟอร์เมินแดร์นาทัวร์ของแอ็นสท์ เฮ็คเคิล ปี 2447

ด้านล่างนี้เป็นตารางการจัดจำแนกประเภทวงศ์ที่ได้รับการยอมรับจากนักเขียนหลายคนใน Handbook of the Mammals of the World ฉบับที่เก้า ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2562:[38]

อันดับค้างคาว Blumenbach, 1779
Yinpterochiroptera Springer, Teeling, Madsen, Stanhope & Jong, 2001
Pteropodoidea J. E. Gray, 1821
Family English Name Number of Species Image Figure
Pteropodidae J. E. Gray, 1821 Old World Fruit Bats 191
Rhinolophoidea J. E. Gray, 1825
Family English Name Number of Species Image Figure
Rhinopomatidae Bonaparte, 1838 Mouse-tailed Bats 6
Craseonycteridae Hill, 1974 Hog-nosed Bat 1 ไฟล์:Craseonycteris thonglongyai.JPG
Megadermatidae H. Allen, 1864 False-vampires 6
Rhinonycteridae J. E. Gray, 1866 Trident Bats 9
Hipposideridae Lydekker, 1891 Old World Leaf-nosed Bats 88
Rhinolophidae J. E. Gray, 1825 Horseshoe Bats 109
Yangochiroptera Koopman, 1984
Emballonuroidea Gervais in de Castelnau, 1855
Family English Name Number of Species Image Figure
Nycteridae Van der Hoeven, 1855 Slit-faced Bats 15
Emballonuridae Gervais in de Castelnau, 1855 Sheath-tailed Bats 54
Noctilionoidea J. E. Gray, 1821
Family English Name Number of Species Image Figure
Myzopodidae Thomas, 1904 Madagascar Sucker-footed Bats 2
Mystacinidae Dobson, 1875 New Zealand Short-tailed Bats 2
Thyropteridae Miller, 1907 Disk-winged Bats 5
Furipteridae J. E. Gray, 1866 Smoky Bat and Thumbless Bat 2
Noctilionidae J. E. Gray, 1821 Bulldog Bats 2
Mormoopidae Saussure, 1860 Ghost-faced, Naked-backed and Mustached Bats 18
Phyllostomidae J. E. Gray, 1825 New World Leaf-nosed Bats 217
Vespertilionoidea J. E. Gray, 1821
Family English Name Number of Species Image Figure
Natalidae J. E. Gray, 1825 Funnel-eared Bats 12
Molossidae Gervais in de Castelnau, 1855 Free-tailed Bats 126
Miniopteridae Dobson, 1875 Free-tailed Bats 38
Cistugidae Lack et al., 2010 Wing-gland Bats 2
Vespertilionidae J. E. Gray, 1821 Vesper Bats 496

กายวิภาคและสรีรวิทยา[แก้]

กะโหลกและชุดฟัน[แก้]

ค้างคาวผลไม้ตัวหนึ่งที่เก็บรักษาไว้แสดงให้เห็นว่าโครงกระดูกของค้างคาวสามารถอยู่ในผิวหนังได้พอดี

หัวและรูปร่างฟันของค้างคาวแตกต่างกันไปได้ในค้างคาวแต่ละชนิด โดยปกติค้างคาวผลไม้มีจมูกยื่นยาวกว่า ถุงตาที่ใหญ่กว่า และหูที่เล็กกว่า ทำให้ปรากฎลักษณะคล้ายหมา ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเล่นว่า "จิ้งจอกบิน" (flying foxes)[39] ในบรรดาค้างคาวกินแมลง จมูกยื่นยาวกว่านั้นเกี่ยวข้องกับการดื่มน้ำหวานจากเกสรเป็นอาหาร[40] ขณะที่ค้างคาวแวมไพร์มีจมูกยื่นที่สั้นลงเพื่อให้มีฟันตัดหน้าขนาดใหญ่และเขี้ยวได้พอดี[41]

ค้างคาวกินแมลงขนาดเล็กมีฟันได้ถึง 38 ซี่ ขณะที่ค้างคาวแวมไพร์มีได้แค่ 20 ซี่ ค้างคาวที่กินแมลงเปลือกแข็งมีฟันที่น้อยกว่าแต่มีขนาดใหญ่กว่า พร้อมกับมีเขี้ยวที่ยาวกว่าและขากรรไกรล่างที่แข็งแรงกว่าค้างคาวชนิดอื่นที่กินแมลงเปลือกอ่อนนุ่มเป็นอาหาร ส่วนค้างคาวที่ดื่มน้ำหวานเกสรเป็นอาหารนั้น มีเขี้ยวที่ยาวขณะที่ฟันบริเวณแก้มมีขนาดเล็กลง ในค้างคาวกินผลไม้เป็นอาหาร ส่วนแหลมของฟันบริเวณแก้มมีเพื่อกัดผลไม้[40] พฤติกรรมการหาอาหารเหล่านี้เป็นจริงทั้งในค้างคาวผลไม้และค้างคาวกินแมลง ฟันตัดหน้าขากรรไกรบนของค้างคาวแวมไพร์ไม่มีเคลือบฟัน ซึ่งรักษาให้ฟันของค้างคาวแวมไพร์นั้นคมมาก[41] แรงกัดของค้างคาวขนาดเล็กเกิดขึ้นจากการได้เปรียบเชิงกล ทำให้สามารถกัดผ่านเปลือกแข็งของแมลงหรือเปลือกผลไม้ได้[42]

ปีกและการบิน[แก้]

การเกาะคอนและท่าเดิน[แก้]

ระบบอวัยวะภายใน[แก้]

ประสาทสัมผัส[แก้]

การกำหนดวัตถุที่ตั้งด้วยเสียงสะท้อน[แก้]

การมองเห็น[แก้]

การรับรู้สนามแม่เหล็ก[แก้]

การปรับอุณหภูมิกาย[แก้]

ขนาด[แก้]

นิเวศวิทยา[แก้]

อาหาร[แก้]

แมลง[แก้]

ผลไม้และน้ำหวานจากเกสร[แก้]

สัตว์มีกระดูกสันหลัง[แก้]

เลือด[แก้]

ผู้ล่า ปรสิต และโรค[แก้]

พฤติกรรมทางสังคม[แก้]

โครงสร้างทางสังคม[แก้]

การสื่อสาร[แก้]

การสืบพันธุ์และช่วงชีวิต[แก้]

กลยุทธ์[แก้]

การผสมพันธุ์[แก้]

วงจรชีวิต[แก้]

อายุขัย[แก้]

ปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์[แก้]

การอนุรักษ์[แก้]

ความสำคัญเชิงวัฒนธรรม[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. อ่านว่า ไค-รอป-เทอ-เรอ; จากกรีกโบราณ: χείρcheir "มือ" และ πτερόν – pteron "ปีก"[1]

รายการอ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1  "Chiroptera" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 6 (11 ed.). 1911. pp. 239–247.
  2. "Bat". Dictionary.com. สืบค้นเมื่อ 9 September 2017.
  3. "Bat, noun 2". Online Etymology Dictionary. สืบค้นเมื่อ 24 June 2013.
  4. Liddell, Henry G.; Scott, Robert (บ.ก.). "χείρ". A Greek-English Lexicon. สืบค้นเมื่อ 9 September 2017.
  5. Liddell, Henry G.; Scott, Robert (บ.ก.). "πτερόν". A Greek-English Lexicon. สืบค้นเมื่อ 9 September 2017.
  6. Eiting, T. P.; Gunnell, G. F. (2009). "Global completeness of the bat fossil record". Journal of Mammalian Evolution. 16 (3): 151–173. doi:10.1007/s10914-009-9118-x.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Simmons, N. B.; Seymour, K. L.; Habersetzer, J.; Gunnell, G. F. (2008). "Primitive Early Eocene bat from Wyoming and the evolution of flight and echolocation". Nature. 451 (7180): 818–821. Bibcode:2008Natur.451..818S. doi:10.1038/nature06549. hdl:2027.42/62816. PMID 18270539.
  8. "Paleontologists Determine Original Color of Extinct Bats". SciNews. 29 September 2015. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  9. Collearya, C.; Dolocanc, A.; Gardnerd, J.; Singha, Suresh; Wuttkee, M. (2015). "Chemical, experimental, and morphological evidence for diagenetically altered melanin in exceptionally preserved fossils". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 112 (41): 12592–12597. Bibcode:2015PNAS..11212592C. doi:10.1073/pnas.1509831112. PMC 4611652. PMID 26417094.
  10. Van de Bussche, R. A.; Hoofer, S. R. (2004). "Phylogenetic relationships among recent chiropteran families and the importance of choosing appropriate out-group taxa". Journal of Mammalogy. 85 (2): 321–330. doi:10.1644/1545-1542(2004)085<0321:Prarcf>2.0.Co;2.
  11. Smith, D. "Chiroptera: Systematics". University of California Museum of Paleontology. สืบค้นเมื่อ 9 September 2017.
  12. Eick, G. N.; Jacobs, D. S.; Matthee, C. A. (2005). "A Nuclear DNA Phylogenetic Perspective on the Evolution of Echolocation and Historical Biogeography of Extant Bats (Chiroptera)". Molecular Biology and Evolution. 22 (9): 1869–1886. doi:10.1093/molbev/msi180. PMID 15930153. Several molecular studies have shown that Chiroptera belong to the Laurasiatheria (represented by carnivores, pangolins, cetartiodactyls, eulipotyphlans, and perissodactyls) and are only distantly related to dermopterans, scandentians, and primates (Nikaido et al. 2000; Lin and Penny 2001; Madsen et al. 2001; Murphy et al. 2001a, 2001b; Van Den Bussche and Hoofer 2004)
  13. Pumo, D. E.; และคณะ (1998). "Complete Mitochondrial Genome of a Neotropical Fruit Bat, Artibeus jamaicensis, and a New Hypothesis of the Relationships of Bats to Other Eutherian Mammals". Journal of Molecular Evolution. 47 (6): 709–717. Bibcode:1998JMolE..47..709P. doi:10.1007/PL00006430. PMID 9847413.
  14. Zhou, X.; และคณะ (2011). "Phylogenomic Analysis Resolves the Interordinal Relationships and Rapid Diversification of the Laurasiatherian Mammals". Systematic Biology. 61 (1): 150–164. doi:10.1093/sysbio/syr089. PMC 3243735. PMID 21900649.
  15. 15.0 15.1 15.2 15.3 15.4 Tsagkogeorga, G.; Parker, J.; Stupka, E.; Cotton, J. A.; Rossiter, S. J. (2013). "Phylogenomic analyses elucidate the evolutionary relationships of bats (Chiroptera)". Current Biology. 23 (22): 2262–2267. doi:10.1016/j.cub.2013.09.014. PMID 24184098.
  16. Zhang, G.; Cowled, C.; Shi, Z.; Huang, Z.; Bishop-Lilly, K. A.; Fang, X.; Wynne, J. W.; Xiong, Z.; Baker, M. L.; Zhao, W.; Tachedjian, M.; Zhu, Y.; Zhou, P.; Jiang, X.; Ng, J.; Yang, L.; Wu, L.; Xiao, J.; Feng, Y.; Chen, Y.; Sun, X.; Zhang, Y.; Marsh, G. A.; Crameri, G.; Broder, C. C.; Frey, K. G.; Wang, L.-F.; Wang, J. (2012). "Comparative Analysis of Bat Genomes Provides Insight into the Evolution of Flight and Immunity". Science. 339 (6118): 456–460. Bibcode:2013Sci...339..456Z. doi:10.1126/science.1230835. PMID 23258410.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ agnarsson
  18. 18.0 18.1 Teeling, E.C.; Springer, M. S.; Madsen, O.; Bates, P.; O'Brien, S. J.; Murphy, W. J. (2005). "A Molecular Phylogeny for Bats Illuminates Biogeography and the Fossil Record". Science. 307 (5709): 580–584. Bibcode:2005Sci...307..580T. doi:10.1126/science.1105113. PMID 15681385.
  19. Pettigrew, J. D.; Maseko, B. C.; Manger, P. R. (2008). "Primate-like retinotectal decussation in an echolocating megabat, Rousettus aegyptiacus". Neuroscience. 153 (1): 226–31. doi:10.1016/j.neuroscience.2008.02.019. PMID 18367343.
  20. Simmons, N. B.; Seymour, K. L.; Habersetzer, J.; Gunnell, G. F. (2008). "Primitive early Eocene bat from Wyoming and the evolution of flight and echolocation". Nature. 451 (7180): 818–816. Bibcode:2008Natur.451..818S. doi:10.1038/nature06549. hdl:2027.42/62816. PMID 18270539.
  21. "Bat fossil solves evolution poser". BBC News. 13 February 2008. สืบค้นเมื่อ 17 December 2017.
  22. 22.0 22.1 Norberg, U. M. (1994). Wainwright, P. C.; Reilly, S. M. (บ.ก.). Ecological Morphology: Integrative Organismal Biology. University of Chicago Press. pp. 206–208. ISBN 978-0-226-86995-7.
  23. Bishop, K. L. (2008). "The Evolution of Flight in Bats: Narrowing the Field of Plausible Hypotheses". The Quarterly Review of Biology. 83 (2): 153–169. doi:10.1086/587825. PMID 18605533.
  24. Kaplan, Matt (2011). "Ancient bats got in a flap over food". Nature. doi:10.1038/nature.2011.9304.
  25. Teeling; Teeling, E. C.; Scally, M.; Kao, D. J.; Romagnoli, M. L.; Springer, M. S. (2000). "Molecular evidence regarding the origin of echolocation and flight in bats". Nature. 403 (6766): 188–192. Bibcode:2000Natur.403..188T. doi:10.1038/35003188. PMID 10646602.
  26. Springer, M. S.; Teeling, E. C.; Madsen, O.; Stanhope, M. J.; De Jong, W. W. (2001). "Integrated fossil and molecular data reconstruct bat echolocation". Proceedings of the National Academy of Sciences. 98 (11): 6241–6246. Bibcode:2001PNAS...98.6241S. doi:10.1073/pnas.111551998. PMC 33452. PMID 11353869.
  27. L., G.; Wang, J.; Rossiter, S. J.; Jones, G.; Zhang, S. (2007). "Accelerated FoxP2 evolution in echolocating bats". PLOS ONE. 2 (19): e900. Bibcode:2007PLoSO...2..900L. doi:10.1371/journal.pone.0000900. PMC 1976393. PMID 17878935.
  28. DesRoche, K.; Fenton, M. B.; Lancaster, W. C. (2007). "Echolocation and the thoracic skeletons of bats: a comparative morphological study". Acta Chiropterologica. 9 (2): 483–494. doi:10.3161/1733-5329(2007)9[483:EATTSO]2.0.CO;2.
  29. Li, G.; Wang, J.; Rossiter, S. J.; Jones, G.; Cotton, J. A.; Zhang, S. (2008). "The hearing gene Prestin reunites the echolocating bats". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 105 (37): 13959–13964. Bibcode:2008PNAS..10513959L. doi:10.1073/pnas.0802097105. PMC 2544561. PMID 18776049.
  30. Wang, Zhe; Zhu, Tengteng; Xue, Huiling; Fang, Na; Zhang, Junpeng; Zhang, Libiao; Pang, Jian; Teeling, Emma C.; Zhang, Shuyi (2017). "Prenatal development supports a single origin of laryngeal echolocation in bats". Nature Ecology & Evolution. 1 (2): 21. doi:10.1038/s41559-016-0021. PMID 28812602.
  31. Lei, M.; Dong, D. (2016). "Phylogenomic analyses of bat subordinal relationships based on transcriptome data". Scientific Reports. 6: 27726. Bibcode:2016NatSR...627726L. doi:10.1038/srep27726. PMC 4904216. PMID 27291671.
  32. Neuweiler, Gerhard (2000). "Phylogeny and systematics". The Biology of Bats. Oxford University Press. pp. 287–299. ISBN 978-0195099508.
  33. 33.0 33.1 33.2 Prothero, D. R. (2017). "Laurasiatheria: Chiroptera". The Princeton Field Guide to Prehistoric Mammals. Princeton University Press. pp. 112–116. ISBN 978-0-691-15682-8.
  34. Hutcheon, J. M.; Garland, T. (2004). "Are Megabats Big?". Journal of Mammalian Evolution. 11 (3/4): 257. doi:10.1023/B:JOMM.0000047340.25620.89.
  35. Holland, R. A. (2004). "Echolocation signal structure in the Megachiropteran bat Rousettus aegyptiacus Geoffroy 1810". Journal of Experimental Biology. 207 (25): 4361–4369. doi:10.1242/jeb.01288. PMID 15557022.
  36. Brown, W. M. (2001). "Natural selection of mammalian brain components". Trends in Ecology and Evolution. 16 (9): 471–473. doi:10.1016/S0169-5347(01)02246-7.
  37. 37.0 37.1 Stephen, J.; Olney, P. (1994). Creative Conservation: Interactive Management of Wild and Captive Animals. Springer. p. 352. ISBN 978-0412495700.
  38. Wilson, D.E.; Mittermeier, R.A., บ.ก. (2019). Handbook of the Mammals of the World – Volume 9. Barcelona: Lynx Ediciones. pp. 1–1008. ISBN 978-84-16728-19-0.
  39. Fleming, T. (2003). A Bat Man in the Tropics: Chasing El Duende. University of California Press. p. 165. ISBN 978-0520236066.
  40. 40.0 40.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ MacDonald
  41. 41.0 41.1 Greenhall, A.M.; Joermann, G.; Schmidt, U. (1983). "Desmodus rotundus". Mammalian Species. 202 (202): 1–6. doi:10.2307/3503895. JSTOR 3503895.
  42. Senawi, J.; Schmieder, D.; Siemers, B.; Kingston, T. (2015). "Beyond size – morphological predictors of bite force in a diverse insectivorous bat assemblage from Malaysia". Functional Ecology. 29 (11): 1411–1420. doi:10.1111/1365-2435.12447.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]