ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Ahcuna/ทดลองเขียน/บทความ 67

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Asian nations at the FIFA World Cup

ชาติเอเชียในฟุตบอลโลก

[แก้]

ฟุตบอลทีมชาติของทวีปเอเชียในฟุตบอลโลก เป็นตัวแทนของแต่ละประเทศในการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งเป็นประเทศจากโซนเอเชียและเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย กีฬาฟุตบอลเป็นหนึ่งในกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในทวีปเอเชีย โดยมีสมาชิก 12 ทีมของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชียที่เคยเข้าร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลก ซึ่งเป็นการกีฬาระดับนานาชาติที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกีฬาฟุตบอล ผลงานอันดับสูงสุดในฟุตบอลโลกสำหรับทีมเอเชียคืออันดับ 4 ในฟุตบอลโลก 2002 โดยทีมชาติเกาหลีใต้

ภาพรวม

[แก้]
1930
อุรุกวัย
(13)
1934
ราชอาณาจักรอิตาลี
(16)
1938
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
(15)
1950
Fourth Brazilian Republic
(13)
1954
สวิตเซอร์แลนด์
(16)
1958
สวีเดน
(16)
1962
ชิลี
(16)
1966
อังกฤษ
(16)
1970
เม็กซิโก
(16)
1974
เยอรมนีตะวันตก
(16)
1978
อาร์เจนตินา
(16)
1982
สเปน
(24)
1986
เม็กซิโก
(24)
1990
อิตาลี
(24)
1994
สหรัฐอเมริกา
(24)
1998
ฝรั่งเศส
(32)
2002
เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
(32)
2006
เยอรมนี
(32)
2010
แอฟริกาใต้
(32)
2014
บราซิล
(32)
2018
รัสเซีย
(32)
2022
ประเทศกาตาร์
(32)
2026
แคนาดา
สหรัฐอเมริกา
เม็กซิโก
(48)
รวม
ทีม 0





0





หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์





0





เกาหลีใต้





0





0





เกาหลีเหนือ





อิสราเอล





0





อิหร่าน





คูเวต





เกาหลีใต้
อิรัก




เกาหลีใต้
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์




เกาหลีใต้
ซาอุดีอาระเบีย




เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ซาอุดีอาระเบีย
อิหร่าน


เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ซาอุดีอาระเบีย
จีน


เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ซาอุดีอาระเบีย
อิหร่าน


เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ออสเตรเลีย
เกาหลีเหนือ


เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ออสเตรเลีย
อิหร่าน


เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ออสเตรเลีย
อิหร่าน
ซาอุดีอาระเบีย

เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
ออสเตรเลีย
อิหร่าน
ซาอุดีอาระเบีย
ประเทศกาตาร์
43
16 ทีมสุดท้าย 0[a] 0 0 1 0 2 0 2 0 1 3 9
8 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 2
4 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
2 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
1 0
2 0
3 0
4 เกาหลีใต้ 1
ประเทศ จำนวนครั้ง ปี ค.ศ. ผลงานดีที่สุด
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
11
1954, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 4
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
7
1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 R2
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย[b]
6
(1974, 2006), 2010, 2014, 2018, 2022 R2
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
6
1978, 1998, 2006, 2014, 2018, 2022 R1
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
6
1994, 1998, 2002, 2006, 2018, 2022 R2
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
2
1966, 2010 QF
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย[c]
1
1938 R1
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล[d]
1
1970 R1
ธงชาติคูเวต คูเวต
1
1982 R1
ธงชาติอิรัก อิรัก
1
1986 R1
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
1
1990 R1
ธงชาติจีน จีน
1
2002 R1
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์
1
2022 R1
  • ตัวหนา หมายถึง ปีที่จบอันดับดีที่สุด

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ในปี ค.ศ. 1982 ในรอบที่สองมี 12 ทีมแข่งขันแบบแบ่งกลุ่มมีทั้งหมด 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม มีเพียงผู้ชนะเท่านั้นที่จะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ: ไม่มีรอบก่อนรองชนะเลิศ
  2. ในปี ค.ศ. 2006 ออสเตรเลียเข้ารอบผ่านการแข่งขันรอบคัดเลือกโซนโอเชียเนีย อย่างไรก็ตาม สหพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลียได้ออกจากโอเอฟซีอย่างเป็นทางการและเข้าร่วมสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2006 พวกเขาผ่านคัดเลือกในปี ค.ศ. 1974 ในฐานะสมาชิกของโอเอฟซี
  3. ก่อนได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1945 แข่งขันในนามหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ รวมถึงการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายเพียงครั้งเดียวในปี ค.ศ. 1938
  4. อิสราเอลเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อพวกเขาปรากฏตัวใน ฟุตบอลโลก 1970 พวกเขาถูกไล่ออกจากเอเอฟซีในปี ค.ศ. 1974 และเข้าร่วมยูฟ่า ในปี ค.ศ. 1994