ผู้ใช้:ยุทธนาสาระขันธ์/ทดลองเขียน6

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อศตวรรษิกชนชาวไทย[แก้]

ชื่อ เพศ เกิด ภาษาอังกฤษ หมายเหตุ
พระราชมงคลวชิรปัญญา (อิ่ม ปญฺญาวุโธ) ช. พ.ศ. 2460 อายุ 106 ปี 140 วัน
บุญเรือน ชุณหะวัณ ญ. พ.ศ. 2463 Boonruen Choonhavan เสียชีวิตแล้ว
มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา ญ. พ.ศ. 2463 อายุ 103 ปี 174 วัน
หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ช. พ.ศ. 2465 Bhisadej Rajani เสียชีวิตแล้ว
อินทุรัตนา บริพัตร ญ. พ.ศ. 2465 Induratana Paribatra อายุ 102 ปี 62 วัน
มัณฑนา โมรากุล ญ. พ.ศ. 2466 Mantana Morakul อายุ 101 ปี 25 วัน
แผน วรรณเมธี ช. พ.ศ. 2467 Phan Wannamethee อายุ 100 ปี 85 วัน

บุคคลชาวไทยที่มีอายุจะครบ 100 ปี[แก้]

ชื่อ เพศ เกิด อายุ ภูมิลำเนา วันที่อายุครบ 100 ปี
บรรเจิดศรี ยมาภัย ญ. พ.ศ. 2468 มากกว่า 98 ปี 325 วัน กรุงเทพมหานคร 16 มิถุนายน 2568
เฉก ธนะสิริ ช. พ.ศ. 2468 มากกว่า 98 ปี 236 วัน กรุงเทพมหานคร กันยายน 2568
บรรจบ บุนนาค ช. พ.ศ. 2468 มากกว่า 98 ปี 136 วัน กรุงเทพมหานคร 10 ธันวาคม 2568
ธานินทร์ กรัยวิเชียร ช. พ.ศ. 2470 มากกว่า 96 ปี 324 วัน กรุงเทพมหานคร 5 เมษายน 2570
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ช. พ.ศ. 2470 มากกว่า 96 ปี 303 วัน จังหวัดราชบุรี 26 มิถุนายน 2570
ประสงค์ สุ่นศิริ ช. พ.ศ. 2470 มากกว่า 96 ปี 226 วัน จังหวัดราชบุรี 11 สิงหาคม 2570
เชาวน์ ณศีลวันต์ ช. พ.ศ. 2471 มากกว่า 95 ปี 261 วัน กรุงเทพมหานคร 7 สิงหาคม 2571
พระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ช. พ.ศ. 2472 มากกว่า 95 ปี 90 วัน จังหวัดนครปฐม 25 มกราคม 2572
หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ ช. พ.ศ. 2472 มากกว่า 94 ปี 119 วัน กรุงเทพมหานคร 27 ธันวาคม 2572
บุญพันธ์ แขวัฒนะ ช. พ.ศ. 2473 มากกว่า 94 ปี 109 วัน จังหวัดพิจิตร 6 มกราคม 2573
เกษม สุวรรณกุล ช. พ.ศ. 2473 มากกว่า 94 ปี 54 วัน จังหวัดฉะเชิงเทรา 1 มีนาคม 2573
หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี ช. พ.ศ. 2473 มากกว่า 94 ปี 46 วัน กรุงเทพมหานคร 9 มีนาคม 2573
ฉลอง ภักดีวิจิตร ช. พ.ศ. 2474 มากกว่า 93 ปี 37 วัน กรุงเทพมหานคร 18 มีนาคม 2474
ไพรัช สังวริบุตร ช. พ.ศ. 2474 มากกว่า 92 ปี 210 วัน กรุงเทพมหานคร 27 กันยายน 2474
อาณัติ อาภาภิรม ช. พ.ศ. 2477 มากกว่า 90 ปี 88 วัน กรุงเทพมหานคร 27 มกราคม 2477
เสนาะ เทียนทอง ช. พ.ศ. 2477 มากกว่า 90 ปี 23 วัน จังหวัดปราจีนบุรี 1 เมษายน 2477

ชาวต่างชาติที่มีอายุจะครบ 100 ปี[แก้]

ชื่อ เพศ เกิด อายุ ภูมิลำเนา วันที่อายุครบ 100 ปี
เจ้าหญิงยุริโกะ พระวรชายามิกะซะ ญ. ค.ศ. 1923 มากกว่า 100 ปี 325 วัน ประเทศญี่ปุ่น 4 มิถุนายน ค.ศ. 2023
มาริอันน์ เบอร์นาดอตต์ ญ. ค.ศ. 1924 มากกว่า 99 ปี 284 วัน ประเทศสวีเดน 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2024
มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด
(อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย 2 สมัย)
ช. ค.ศ. 1925 มากกว่า 98 ปี 200 วัน ประเทศมาเลเซีย 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2025
โรซาลีนน์ คาร์เตอร์ ญ. ค.ศ. 1927 มากกว่า 96 ปี 250 วัน ประเทศสหรัฐอเมริกา 18 สิงหาคม ค.ศ. 2027
ราม นารายัณ ช. ค.ศ. 1927 มากกว่า 96 ปี 121 วัน ประเทศอินเดีย 25 ธันวาคม ค.ศ. 2027
เจมส์ ดี. วัตสัน ช. ค.ศ. 1928 มากกว่า 96 ปี 18 วัน ประเทศสหรัฐอเมริกา 6 เมษายน ค.ศ. 2028
สมเด็จพระราชินีรัตนาแห่งเนปาล ญ. ค.ศ. 1928 มากกว่า 95 ปี 249 วัน ประเทศเนปาล 19 สิงหาคม ค.ศ. 2028
เบนนี กอลสัน ช. ค.ศ. 1929 มากกว่า 95 ปี 90 วัน ประเทศสหรัฐอเมริกา 25 มกราคม ค.ศ. 2029
เลดีพาเมลา ฮิกส์ ญ. ค.ศ. 1929 มากกว่า 95 ปี 5 วัน ประเทศสเปน 19 เมษายน ค.ศ. 2029

หมายเหตุ ตรวจสอบจากบุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2472

ชาวต่างชาติสูงอายุที่มีความสำคัญ[แก้]

ชื่อ เพศ วันเกิด (อายุ) ภูมิลำเนา หมายเหตุ
โจ ไบเดิน ช. (1942-11-20) 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1942 (81 ปี) ประเทศสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน

รายชื่อคนไทยที่ปรากฎในกูเกิล ดูเดิล[แก้]

https://www.it24hrs.com/2018/20-google-doodle-popular-thailand/ 20 Doodle ยอดนิยมในไทย ฉลองครบรอบ 20 ปี Google Search

โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์[แก้]

ประวัติโดยละเอียด[แก้]

พ.ศ. 2448

  • 2 มีนาคม เปิดทำการสอนนักเรียนรุ่นแรกจำนวน 37 คน การสอนใช้ภาษาต่างประเทศเป็นหลัก เช่น ภาษาอังกฤษ เยอรมัน โปรตุเกส และฝรั่งเศส ภาษาไทยวันละชั่วโมง นอกจากนั้นยังมีวิชาจริยธรรม ดนตรี เย็บปักถักร้อย และมารยาททั่วไป ขณะนั้นยังไม่มีเครื่องแบบนักเรียน
  • 7 มีนาคม คณะเซอร์ย้ายเข้ามาอยู่ที่โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ โดยมีเซอร์แซงต์ ซาเวียร์ ท่านอธิการิณีท่านแรกสอนภาษาฮอลันดา, เซอร์อันนา ซาเวียร์ สอนภาษาฝรั่งเศส, เซอร์อักแนส เดอ เซนต์ปอล สอนภาษาอังกฤษและเยอรมัน, เซอร์อังเชลิก โยแซฟ สอนภาษาโปรตุเกส, เซอร์มารีย์บลังซ์ สอนงานฝีมือและงานประดิษฐ์, เซอร์ดอมินิก สอนภาษาอังกฤษ, เซอร์เทแรส (โนวิส) สอนภาษาไทย,เซอร์มาร์เกอริต ดูแลเรื่องอาหาร โดยมี คุณพ่อการิเอ สอนภาษาไทยให้กับคณะเซอร์วันละ 1 ชั่วโมง
  • 18 มิถุนายน มีพิธีเปิดโรงเรียนอย่างเป็นทางการ ฯพณฯ หลุยส์ เวย์ เป็นประธานการเสกอาคารเรียน 3 ชั้น และการเฉลิมฉลองเริ่มด้วยสหบูชามิสซา มีเซอร์จากโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์และสามเสนมาร่วมยินดี
  • 19 มิถุนายน หนังสือพิมพ์ในกรุงเทพฯลงข่าวเรื่องการเปิดโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์อย่างเป็นทางการ สำหรับหญิงสาวที่ต้องการเรียนภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน โปรตุเกส ฯลฯ

พ.ศ. 2450

  • เซอร์อันนา ซาเวียร์ ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 2 ขณะนั้นนักเรียนส่วนใหญ่เป็นบุตรหลานของชาวยุโรปที่ทำงานในประเทศไทย

พ.ศ. 2461

  • โรงเรียนได้จดทะเบียนเป็นโรงเรียนราษฎร์ขึ้นตรงกับกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน)

พ.ศ. 2472

  • เซอร์อานน์ แชร์แมน ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 3

พ.ศ. 2474

  • โรงเรียนได้ขยายชั้นเรียนจากมัธยมศึกษาปีที่ 6 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 8

พ.ศ. 2476

  • โรงเรียนได้ช่วยเหลือนักเรียนที่ขัดสนให้เรียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่ชั้นมูลจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนาใดๆ
  • เริ่มมีเครื่องแบบนักเรียนและครู โดยใส่เสื้อแขนยาวสีขาวทับไว้นอกผ้าซิ่นแดง นักเรียนจะผูกไทสีแดง ส่วนคุณครูจะผูกโบว์
  • คุณพ่อกอลมเบต์ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ถึงแก่กรรม

พ.ศ. 2478

  • โรงเรียนส่งนักเรียนชั้นมัธยมบริบูรณ์ (ม.8) เข้าสมทบในการสอบไล่ของกระทรวง

พ.ศ. 2480

  • โรงเรียนได้รับการรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล

พ.ศ. 2483

  • คุณครู ถนอมจิต หุตะสิงห์ ดำรงตำแหน่งผู้จัดการโรงเรียนแทนเซอร์อานน์ แชร์แมน โดยมีครู รุจิรา ชโนดม ดำรงตำแหน่งครูใหญ่

พ.ศ. 2487

พ.ศ. 2489

  • โรงเรียนได้เปิดชั้นเตรียมอุดมศึกษาแผนกอักษรศาสตร์แทน ม.8 เดิม

พ.ศ. 2490

  • เซอร์แซงค์ บาร์บ ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 4
  • โรงเรียนเปลี่ยนเครื่องแบบนักเรียนให้เหมือนกับของโรงเรียนรัฐบาล

พ.ศ. 2494

  • เซอร์เมรี่ เดอแลง กานาซีออง ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 5 และครูใหญ่ของโรงเรียน
  • ก่อตั้งสมาคมศิษย์อัสสัมชัญคอนแวนต์ โดยยื่นขอจดทะเบียนก่อตั้งสมาคมกับสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ

พ.ศ. 2496

  • ด้วยจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นจึงแยกออกเป็นโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ และโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา (ซึ่งภายหลังมอบให้อยู่ในความดูแลของอาสนวิหารอัสสัมชัญ)
  • เปลี่ยนเครื่องแบบจากเดิมมาเป็นเครื่องแบบในปัจจุบัน (ส่วนเครื่องแบบเดิมมอบให้โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา)
  • สร้างอาคารเรียน 2 ชั้น เพื่อแยกตึกเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีงานฉลองเปิดอาคารเรียนหลังใหม่
  • ท่านอธิการิณีเมรี่ ได้รับเหรียญเกียรติยศด้านการสอนจากประเทศฝรั่งเศส

พ.ศ. 2498

  • วันที่ 5 - 6 พฤศจิกายน ได้จัดงานครบรอบ 50 ปีของโรงเรียน และจัดทำหนังสืออนุสรณ์เล่มแรกขึ้น

พ.ศ. 2500

  • เซอร์เอมิเลียน ดำรงตำแหน่งอธิการิณีท่านที่ 6 โดยท่านเป็นอธิการิณีชาวไทยคนแรก และเป็นศิษย์อัสสัมชัญคอนแวนต์

พ.ศ. 2501

  • เริ่มใช้สมุดระเบียบการ (School Note-Book) อย่างเป็นทางการ

พ.ศ. 2503

  • เซอร์มารี ลูเชียน ดำรงตำแหน่งอธิการิณีท่านที่ 7

พ.ศ. 2505

พ.ศ. 2506

  • ทีมบาสเก็ตบอลของโรงเรียนชนะเลิศการแข่งขันของสมาคมบาสเก็ตบอลแห่งประเทศไทยเป็นปีที่ 2

พ.ศ. 2507

พ.ศ. 2508

  • จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบ 60 ปีของการก่อตั้งโรงเรียน และมีการทำหนังสืออนุสรณ์ 60 ปี

พ.ศ. 2509

  • เซอร์เออเชนี มารี สุดารา ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 8

พ.ศ. 2510

  • โรงเรียนได้เปลี่ยนวันหยุดจากวันพฤหัสบดีและวันอาทิตย์ มาเป็นวันเสาร์และวันอาทิตย์

พ.ศ. 2511

  • สร้างอาคารเรียนหลังใหม่ 4 ชั้น มีพิธีเสกอาคารเรียนในวันที่ 11 กรกฎาคม โดยมี ฯพณฯ ยวง นิตโย เป็นประธานในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
  • โรงเรียนได้ร่วมกับสมาคมศิษย์อัสสัมชัญคอนแวนต์จัดงานสงเคราะห์เด็กยากจนในแหล่งเสื่อมโทรมเขตบางรัก

พ.ศ. 2512

  • ทีมบาสเก็ตบอลของโรเรียน ชนะเลิศการแข่งขันบาสเก็ตบอลรุ่นใหญ่ของการแข่งขันกีฬาในกลุ่มคอนแวนต์

พ.ศ. 2513

  • โรงเรียนฉลองการก่อตั้งครบ 65 ปี โดยจัดโครงการโรงเรียนน้อง คือ โรงเรียนทหารม้าอนุสรณ์ ต.หมู่บ้านวังดิน จ.เชียงใหม่ โดย คณะเซอร์ ครู และนักเรียน ได้ร่วมกันนำสิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภคไปแจกจ่ายช่วยเหลือชาวบ้านและนักเรียนในหมู่บ้าน รวมถึงอบรมให้ชาวบ้านและเด็ก ๆ รู้จักดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามหลักสุขอนามัย

พ.ศ. 2514

  • เปิดสอนชั้นมัธยมปลายแทนชั้นเตรียมอุดมศึกษาที่งดสอนไประยะหนึ่ง

พ.ศ. 2516

  • เซอร์เวโรนิค เดอ มารี กลิ่นไกร ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 9- มีการมอบทุนการศึกษาและรางวัลเรียนดีให้แก่นักเรียน- ก่อตั้งสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ โดยเซอร์ฮองรี อ่อนสว่าง และนายสกล มังคละรัช

พ.ศ. 2518

พ.ศ. 2519

  • เซอร์อัลฟองส์ เดอ แซงต์เปียร์ วรศิลป์ ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 10
  • โรงเรียนได้ปรับเปลี่ยนระบบชั้นเรียนเป็น 6-3-3 ตามนโยบายของรัฐบาล คือ ประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี และมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี

พ.ศ. 2521

  • จัดงานกตเวทิตาคุณ เพื่อเป็นเกียรติแก่ครูที่สอนตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไปในงานวันครู วันที่ 16 มกราคม

พ.ศ. 2522

  • ก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่เป็นตึก 6 ชั้น แทนอาคารเรียนหลังเก่า

พ.ศ. 2523

  • โรงเรียนฉลองครบ 75 ปี วันที่ 31 พฤษภาคม มีพิธีเสกอาคารเรียนหลังใหม่ชื่อ "ตึกอนุสรณ์ 75 ปี" โดย ฯพณฯ ไมเกิล มีชัย กิจบุญชู
  • 6 ตุลาคม - 2 พฤศจิกายน โรงเรียนได้หยุดเรียนตามคำสั่งของกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากเกิดอุทกภัย- จัดงานแสดงวิวัฒนาการทางศาสนา โอกาสงานชุมนุมผู้แทนองค์การศาสนาต่างๆ ครั้งที่ 15 ในวันที่ 19 - 21 กันยายน

พ.ศ. 2524

  • แมร์มอนิค มหาธิการิณีคณะเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ได้เยี่ยมชมกิจการของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ในโอกาสที่ท่านเยือนแขวงประเทศไทยอย่างเป็นทางการ

พ.ศ. 2525

  • เซอร์อัลฟองส์ เดอ แซงต์เปียร์ สะอาด วรศิลป์ ได้รับโล่ครูดีเด่นจากสมาคมโรงเรียนราษฏร์ ในฐานะผู้จัดการและครูโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ในวันที่ 22 มกราคม
  • จัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน วันที่ 15 - 21 เมษายน
  • เซอร์ฟรังซัวส์ ชีรานนท์ ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 11

พ.ศ. 2526

  • สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ และสมาคมศิษย์อัสสัมชัญคอนแวนต์ร่วมกับโรงเรียนจัดงาน "สุวรรณสมโภช"ให้คุณครูรุจิรา ชโนดม ที่ทำงานครบ 50 ปี ในวันที่ 15 มกราคม

พ.ศ. 2527

พ.ศ. 2528

  • ฉลองครบ 80 ปีของโรงเรียน มีการแสดงละครเรื่อง "นันทวัน" ณ โรงละครแห่งชาติ โดยรายได้ทั้งหมดนำขึ้นทูลเกล้าฯถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จพระราชกุศล

พ.ศ. 2529

  • ทีมบาสเก็ตบอลของโรงเรียนชนะเลิศการแข่งขันของกรุงเทพมหานคร 3 ปีซ้อน (2527 - 2529) และชนะเลิศการแข่งขันร้องเพลงฝรั่งเศส จากสมาคมฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย

พ.ศ. 2530

  • โรงเรียนได้จัดงานเกษียณอายุให้แก่ครูรุจิรา ชโนดม ครูใหญ่ โดยมีเซอร์เรอเน เด มารี อาภรณ์ แสงหิรัญ ดำรงตำแหน่งแทน- ซ่อมแซมอาคารเรียนหลังแรก เพื่อใช้เป็นตึกเรียนของระดับประถมศึกษา
  • โรงเรียนได้รับเกียรติบัตรเป็นโรงเรียนผู้นำการใช้หลักสูตร จากกระทรวงศึกษาธิการ ณ หอประชุมคุรุสภา

พ.ศ. 2532

พ.ศ. 2533

  • เซอร์วาเลนติน มุ่งหมาย ดำรงตำแหน่งอธิการิณีท่านที่ 12

พ.ศ. 2534

พ.ศ. 2535

  • ได้รับรางวัลชนะเลิศผลงานวิชาคณิตศาสตร์ จากกระทรวงศึกษาธิการในงานสถาปนาครบ 20 ปี ของสำนักงานการศึกษาเอกชน

พ.ศ. 2536

  • เซอร์มารี เซเวียร์ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 13

พ.ศ. 2537

  • เซอร์อัลฟองส์ เดอ แซงต์เปียร์ สะอาด วรศิลป์ ดำรงตำแหน่งครูใหญ่

พ.ศ. 2538

  • ขยายการศึกษาระดับประถมศึกษา โดยซื้อกิจการโรงเรียนผดุงดรุณี และเรียกชื่อโรงเรียนใหม่ว่า อัสสัมชัญคอนแวนต์ สีลม ส่วนโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ บางรัก เป็นแผนกมัธยม
  • งานฉลอง 90 ปี โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ บางรัก โดยมี ฯพณฯ พระคาร์ดินัล ไมเกิล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธานในศาสนพิธี

พ.ศ. 2539

  • ได้รับรางวัลพระราชทานสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

พ.ศ. 2540

  • เปิดการสอนหลักสูตร Intensive Course

พ.ศ. 2541

  • เซอร์วาเลนติน มุกดา มุ่งหมาย ดำรงตำแหน่งครูใหญ่

พ.ศ. 2542

  • เซอร์วาเลนติน มุ่งหมาย ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 14
  • โรงเรียนได้รับการรับรองระบบบริหารคุณภาพ (ISO 9200) จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.)

พ.ศ. 2544

  • สร้าง Terrace ริมแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อเป็นลานอเนกประสงค์

พ.ศ. 2545

  • เซอร์แอนนี สนเจริญ ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 15
  • เข้าร่วมโครงการโรงเรียนเครือข่ายการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • ตัวแทนคณะเนตรนารีโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์เข้าร่วมกิจกรรมงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ 20 ณ ต.หาดยาว อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ประเทศไทย

พ.ศ. 2546

  • เซอร์ดอมีนิก กิจเจริญ ดำรงตำแหน่งอธิการิณีคนที่ 16
  • เปิดการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4

พ.ศ. 2549

  • ได้รับโล่เชิดชูเกียรติและธงสถานศึกษาเข้มแข็งปลอดยาเสพติด จากนายสมัคร สุนทรเวช ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม
  • วันที่ 2 มีนาคม จัดพิธีสหบูชามิสซาโมทนาคุณพระเป็นเจ้า เฉลิมฉลองศตพรรษภัชรสมโภชอัสสัมชัญคอนแวนต์ เนื่องในโอกาสโรงเรียนครบรอบ 100 ปี โดย ฯพณฯ อาร์ชบิชอป ซัลวาตอเร เพนนัคคีโอ เอกอัครสมณทูตวาติกันประจำประเทศไทย และพระคาร์ดินัล ไมเกิล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธาน จัดงานเฉลิมฉลองและการแสดง ณ ลานหน้าอาสนวิหารอัสสัมชัญ
  • วันที่ 19 มีนาคม สมาคมศิษย์เก่าอัสสัมชัญคอนแวนต์ จัดงานเฉลิมฉลองศตพรรษภัชรสมโภช ณ หอประชุมกองทัพเรือ

สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย[แก้]

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

สถานที่ท่องเที่ยวแยกตามจังหวัด[แก้]

กรุงเทพมหานคร[แก้]

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร[แก้]

  1. เขตพระนคร
  2. เขตดุสิต
  3. เขตหนองจอก
  4. เขตบางรัก
  5. เขตบางเขน
    สนามมวยเวทีลุมพินี

    *สนามมวยเวทีลุมพินี
  6. เขตบางกะปิ
  7. เขตปทุมวัน
  8. เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  9. เขตพระโขนง
  10. เขตมีนบุรี
  11. เขตลาดกระบัง
  12. เขตยานนาวา
  13. เขตสัมพันธวงศ์
  14. เขตพญาไท
  15. เขตธนบุรี
  16. เขตบางกอกใหญ่
  17. เขตห้วยขวาง
  18. เขตคลองสาน
  19. เขตตลิ่งชัน
  20. เขตบางกอกน้อย
  21. เขตบางขุนเทียน
  22. เขตภาษีเจริญ
  23. เขตหนองแขม
  24. เขตราษฎร์บูรณะ
  25. เขตบางพลัด
  26. เขตดินแดง
  27. เขตบึงกุ่ม
  28. เขตสาทร
  29. เขตบางซื่อ
  30. เขตจตุจักร
    สวนจตุจักรยามค่ำคืน

    * สวนจตุจักร
    * ตลาดนัดจตุจักร
    * สถานีสวนจตุจักร
  31. เขตบางคอแหลม
  32. เขตประเวศ
  33. เขตคลองเตย
    ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ก่อนปิดปรับปรุง
    อุทยานเบญจสิริ

    *ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
    *อุทยานเบญจสิริ
    *ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
  34. เขตสวนหลวง
  35. เขตจอมทอง
  36. เขตดอนเมือง
  37. เขตราชเทวี
  38. เขตลาดพร้าว
  39. เขตวัฒนา
  40. เขตบางแค
  41. เขตหลักสี่
  42. เขตสายไหม
  43. เขตคันนายาว
  44. เขตสะพานสูง
  45. เขตวังทองหลาง
  46. เขตคลองสามวา
    การแสดงของปลาโลมาที่ซาฟารีเวิลด์

    ซาฟารีเวิลด์
  47. เขตบางนา
  48. เขตทวีวัฒนา
  49. เขตทุ่งครุ
  50. เขตบางบอน


พระที่นั่งวิมานเมฆ
พระที่นั่งอนันตสมาคม
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร
สะพานพระราม 6
บางรัก
ภายในสถานีรถไฟหัวลำโพง
ภูเขาทอง
พระบรมมหาราชวังยามค่ำคืน
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
สะพานพระราม 9
ซอยคาวบอยในยามราตรี
เยาวราชในยามพลบค่ำ
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ถนนอุทยาน
มุมมองวัดกัลยาณมิตรจากแม่น้ำเจ้าพระยา
วงเวียนใหญ่
โรงพยาบาลศิริราช
สถานีรถไฟธนบุรีในอดีต (ปัจจุบันถูกปรับปรุงเป็นโรงพยาบาลศิริราชแล้ว)
วัดอรุณราชวราราม
ป่าชายเลน
พระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถ วัดปากน้ำภาษีเจริญ

ภาคกลาง[แก้]

  1. สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี
  2. สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดอ่างทอง

ภาคเหนือ[แก้]

  1. สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

  1. สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา

สถานที่ท่องเที่ยวแยกตามประเภท[แก้]

  1. รายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ

อนุสรณ์สถานแหล่งต่างๆ และภูมิทัศน์วัฒนธรรมของเชียงใหม่ นครหลวงล้านนา[แก้]

ขึ้นทะเบียนประเภทมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อ พ.ศ.2558 โดยเสนอเป็นแบบกลุ่ม 6 กลุ่ม

  1. พื้นที่ทางวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม่เก่า ประกอบด้วย วัดพระธาตุดอยสุเทพ อุทยานฯ ดอยสุเทพ-ปุย เวียงเจ็ดลิน แม่น้ำปิง ลำน้ำแม่ข่า
  2. ประกอบด้วย กำแพงเมืองชั้นในทั้ง 4 ด้าน ซุ้มประตูเมืองทั้ง 5 แห่ง
  3. มีกำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งเรียกว่า "กำแพงดิน"
  4. วัดและโบราณสถานต่างๆ ในกำแพงเมืองชั้นใน เช่น วัดเจดีย์หลวง
  5. วัดนอกกำแพงเมือง เช่น วัดโลกโมฬี วัดเจ็ดยอด และสถานที่นอกตัวเมืองเชียงใหม่ อย่างเวียงกุมกาม ปัจจุบันเป็นอุทยานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี
  6. อนุสรณ์สถานร่วมสมัย แสดงให้เห็นการเผยแพร่ศาสนาเข้ามาในเชียงใหม่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 อาทิ อาคารเรียนแห่งแรกของปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย โบสถ์ซิกข์แห่งแรก วัดศาลเจ้าในชุมชนจีนแห่งแรก

กระทรวงมหาดไทย[แก้]

ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564[แก้]

ลำดับ ชื่อ ตำแหน่งเดิม ตำแหน่งใหม่ หมายเหตุ
1 สุทธิพงษ์  จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ปลัดกระทรวง
2 สมคิด จันทมฤก รองปลัดกระทรวง อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
3 ณรงค์ศักดิ์  โอสถธนากร ผู้ว่าลำปาง ผู้ว่าปทุมธานี ฉายา ผู้ว่าหมูป่า ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว
4 ชัยวัฒน์ ชื่นโกสุม ผู้ว่าปทุมธานี รองปลัดกระทรวง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[แก้]

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รอแก้ไข 3 จุด

ส่วนที่ 3 ตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท

  • เซ็นเตอร์พอยท์ ออฟ สยามสแควร์ ศูนย์การค้าในพื้นที่สยามสแควร์ สร้างบนพื้นที่ 2 ไร่ ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์เดิมในชื่อ ดิจิตอล เกตเวย์ (Digital Gateway) โดยเป็นการเข้ามาลงทุนของกลุ่มทีซีซีแลนด์[2]

นักมวยไทยที่มีชื่อเสียงกับสมาคมมวยโลก[แก้]

ลำดับ ชื่อ รุ่น ช่วงเวลาที่เป็นแชมป์โลก
1 โผน กิ่งเพชร ฟลายเวท 12 มกราคม 1963 – 18 พฤศจิกายน 1963
23 มกราคม 1964 – 23 เมษายน 1965
2 ชาติชาย เชี่ยวน้อย ฟลายเวท 17 พฤษภาคม 1973 – 18 ตุลาคม 1974
3 เขาทราย แกแล็คซี่ ซูเปอร์ฟลายเวท 21 พฤศจิกายน 1984 – 1992
4 เขาค้อ แกแล็คซี่ แบนตั้มเวท 9 พฤษภาคม 1988 – 14 สิงหาคม 1988
9 กรกฎาคม 1989 – 18 ตุลาคม, 1989
5 แสน ส.เพลินจิต ฟลายเวท 13 กุมภาพันธ์ 1994 – 24 พฤศจิกายน 1996
6
7

หน่วยงานอื่นๆ

  1. สภามวยโลก
  2. สหพันธ์มวยนานาชาติ

นิติภูมิ นวรัตน์[แก้]

บุตรชายคนโตชื่อ เนติภูมิ มิ่งรุจิราลัย สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ชุดที่ 13 เขตบึงกุ่ม พรรคเพื่อไทย

รายชื่อเขื่อน[แก้]

ในต่างประเทศ[แก้]

ในประเทศไทย[แก้]

ภาคเหนือ
  1. เขื่อนภูมิพล (เขื่อนยันฮี) จังหวัดตาก
  2. เขื่อนสิริกิติ์ (เขื่อนผาซ่อม) จังหวัดอุตรดิตถ์
  3. เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล จังหวัดเชียงใหม่
  4. เขื่อนแม่กวงอุดมธารา จังหวัดเชียงใหม่
  5. เขื่อนแม่ปิงตอนล่าง จังหวัดตาก
  6. เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จังหวัดพิษณุโลก
  7. เขื่อนกิ่วลม จังหวัดลำปาง
  8. เขื่อนกิ่วคอหมา จังหวัดลำปาง
ภาคตะวันตก
  1. เขื่อนศรีนครินทร์ (เขื่อนเจ้าเณร) จังหวัดกาญจนบุรี (เขื่อนที่มีความจุมากที่สุดของประเทศไทย)
  2. เขื่อนวชิราลงกรณ์ (เขื่อนเขาแหลม) จังหวัดกาญจนบุรี
  3. เขื่อนแม่กลอง (เขื่อนวชิราลงกรณ์) จังหวัดกาญจนบุรี
  4. เขื่อนท่าทุ่งนา จังหวัดกาญจนบุรี
  5. เขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  1. เขื่อนสิรินธร (เขื่อนลำโดมน้อย) จังหวัดอุบลราชธานี
  2. เขื่อนอุบลรัตน์ (เขื่อนพองหนีบ) จังหวัดขอนแก่น
  3. เขื่อนจุฬาภรณ์ (เขื่อนน้ำพรม) จังหวัดชัยภูมิ
  4. เขื่อนลำตะคอง จังหวัดนครราชสีมา
  5. เขื่อนลำพระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา
  6. เขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์
  7. เขื่อนปากมูล จังหวัดอุบลราชธานี
  8. เขื่อนราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
  9. เขื่อนน้ำอูน จังหวัดสกลนคร
  10. เขื่อนน้ำพุง จังหวัดสกลนคร
  11. เขื่อนเมฆา จังหวัดบุรีรัมย์
  12. เขื่อนลำนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
ภาคตะวันออก
  1. เขื่อนนฤบดินทรจินดา (เขื่อนห้วยโสมง) จังหวัดปราจีนบุรี
  2. เขื่อนคีรีธาร จังหวัดจันทบุรี
  3. เขื่อนรัชโรธร จังหวัดชลบุรี
ภาคกลาง
  1. เขื่อนพระราม 6 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เขื่อนแห่งแรกของไทย)
  2. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี (เขื่อนดินที่ยาวที่สุดของประเทศไทย)
  3. เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนครนายก (เขื่อนคอนกรีตบดอัดยาวที่สุดในประเทศไทยและในโลก)
  4. เขื่อนกระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี (เขื่อนดินยาวที่สุดอันดับที่สองของประเทศไทย)
  5. เขื่อนเจ้าพระยา จังหวัดชัยนาท
ภาคใต้
  1. เขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา
  2. เขื่อนรัชชประภา (เขื่อนเชี่ยวหลาน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี

อ้างอิง[แก้]