ปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
หัวข้อของชีวประวัตินี้อาจไม่ผ่านแนวปฏิบัติความโดดเด่นทั่วไปหรือบทความบุคคล |
คุณหญิง ปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล ป.ภ., ท.ช., ท.ม., จ.จ. | |
---|---|
![]() คุณหญิงปัทมาในพิธีมิสซาที่สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงประกอบ ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ พ.ศ. 2562 | |
เกิด | ปัทมา เจียจวบศิลป์ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 จังหวัดพระนคร ประเทศไทย |
อาชีพ | นักธุรกิจ |
คู่สมรส | สมศักดิ์ ลีสวัสดิ์ตระกูล |
บุตร | สุธิดารัตน์ ลีสวัสดิ์ตระกูล สุรัติพร ลีสวัสดิ์ตระกูล |
เว็บไซต์ | www |
คุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล ประธานกรรมการศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย[1] กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริม ศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่[2]สมัยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย อดีตประธานคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม นักธุรกิจหญิงชาวไทย ประธานกรรมการโรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพ , โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท กาญจนบุรี กรรมการบริษัท บริษัท จีสตีล จำกัด (มหาชน) และนักกิจกรรมสังคม
ด้านการดนตรี[แก้]
ในด้านการดนตรี คุณหญิงปัทมามีความผูกพันกับดนตรี สมัยในวัยเยาว์คุณหญิงปัทมาเป็นสมาชิกนักขับร้องประสานเสียงในโบสถ์ และรักการเล่นกีตาร์ ใช้ความสามารถในการร้องและเล่นดนตรีแบ่งปันให้กับชุมชนในทุกโอกาสที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นอาสาสมัครออกค่าย สร้างและซ่อมแซม วัด โรงเรียน สะพานข้ามคลอง และสอนหนังสือแก่เด็กยากไร้ในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศ ปัจจุบันคุณหญิงปัทมายังคงรักและอุปถัมภ์วงการดนตรีอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง คุณหญิงปัทมาเป็นผู้มีผลงานในวงการศิลปวัฒนธรรมของประเทศไทย อาทิ เป็นประธานคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประธานวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิก แห่งประเทศไทย ประธานที่ปรึกษามูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพฯ นายกกิตติมศักดิ์และผู้ก่อตั้งสมาคมขับร้องประสานเสียงแห่งประเทศไทย กรรมการกิตติมศักดิ์สมาคมครูดนตรี (ประเทศไทย) ฯลฯ
ประวัติการศึกษา[แก้]
- ประกาศนียบัตรหลักสูตร Wharton-นิด้า Executive Leadership Program, The Wharton School, The University of Pennsylvania
- ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5
- ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
- ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ The University of Manchester ประเทศอังกฤษ
- ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ปริญญาเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ
- ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์
การดำรงตำแหน่ง[แก้]
- นายกสมาคมกีฬาแบดมินตันแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์[3]
- กรรมการบริหารสหพันธ์แบดมินตันโลก
- กรรมการบริหารคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
- ประธานกรรมการ โรงแรมอโนมา กรุงเทพฯ
- ประธานกรรมการ โรงแรม เฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท
- กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่ดูแลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัท จีสตีล จำกัด (มหาชน)
- ประธานเจ้าหน้าที่ดูแลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัท จีสตีล จำกัด (มหาชน)
- ประธานชมรมผู้รู้คุณแผ่นดิน เก็บถาวร 2013-06-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ประธานคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
- กรรมการกลาง มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย
- นายกสมาคมศิษย์เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ ในพระบรมราชินูปถัมภ์
- ประธานวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิก แห่งประเทศไทย
- ประธานที่ปรึกษามูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพฯ
- นายกกิตติมศักดิ์และผู้ก่อตั้งสมาคมขับร้องประสานเสียงแห่งประเทศไทย
- ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์นายกสโมสรซอนต้ากรุงเทพ
- ที่ปรึกษาสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ พ.ศ. 2554-2555
- ที่ปรึกษานายกสมาคมแม่บ้านทหารอากาศ
- ที่ปรึกษานายกสมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพแห่งประเทศไทยกรุงเทพฯ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ พ.ศ. 2552- 2555
- ที่ปรึกษาสมาคมแม่ดีเด่นแห่งชาติ
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมศิษย์เก่าอัสสัมชัญพาณิชย์
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของสโมสรซอนต้ากรุงเทพ 1 ปี พ.ศ. 2555-2557
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของสโมสรซอนต้ากรุงเทพ 1 ปี พ.ศ. 2559-2561
- ที่ปรึกษาสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ
- ที่ปรึกษามูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- ที่ปรึกษาสมาคมเสริมสร้างครอบครัวให้อบอุ่นและเป็นสุข
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมคาทอลิกแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2552-2555
- ที่ปรึกษาประธานสภาเซอร์ร่าประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2555-2556
- ที่ปรึกษาประธานสหพันธ์สมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปี พ.ศ. 2554 - 2557
- ที่ปรึกษาโครงการยกย่องเกียรติคุณผู้บำเพ็ญประโยชน์ดีเด่นแก่ประชาชนและสังคม ประจำปี พ.ศ. 2555
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์มูลนิธิบราเดอร์เบอร์นาร์ด
- อุปนายกที่ 2 และประธานฝ่ายหาทุน สหสมาคมศิษย์เซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร
- กรรมการที่ปรึกษาของมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวกในพระบรมราชินูปถัมภ์
- กรรมการที่ปรึกษาของสมาคมผู้ปกครองและครูเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์
- กรรมการ และผู้ช่วยประธานฝ่ายหาทุน มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์
- กรรมการกิตติมศักดิ์สมาคมครูดนตรี (ประเทศไทย)
- กรรมการมูลนิธิเพื่อการพัฒนาการประกอบการธุรกิจและอุตสาหกรรม เก็บถาวร 2016-03-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสนับสนุนส่งเสริมศิลปิน ในคณะทำงานผู้ทรงคุณวุฒิของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม [4]
- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมมาธิการปฏิรูปกีฬา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[แก้]
- พ.ศ. 2549 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 1 ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.)[5]
- พ.ศ. 2552 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)[6]
- พ.ศ. 2550 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.)[7]
- พ.ศ. 2550 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 4 จตุตถจุลจอมเกล้า (จ.จ.)[8]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ[แก้]
นครรัฐวาติกัน : พ.ศ. 2553 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อัศวินีแห่งนักบุญเกรโกรีผู้ยิ่งใหญ่ (Dame of the Order of St. Gregory the Great) จากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16
ออสเตรีย : พ.ศ. 2552 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Goldenes Verdienstzeichen der Republik Österreich
มาเลเซีย : พ.ศ. 2558 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Datin Paduka Jiwa Mahkota Kelantan Yang Amat Mulia (AI-Ismaili II) D.J.M.K
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-01-04. สืบค้นเมื่อ 2018-06-21.
- ↑ "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่อง แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-11-02.
- ↑ คุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล ผู้นำวงการแบดมินตันไทยคนใหม่
- ↑ "รายชื่อคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม ชุดที่ ๗ เริ่มตั้งแต่วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๒ –วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2014-12-30.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เก็บถาวร 2022-05-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๓ ตอนที่ ๒๔ ข หน้า ๓๘, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๒ เก็บถาวร 2022-11-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๖ ข หน้า ๒๒, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2022-05-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๑๘ ข หน้า ๑๑, ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เก็บถาวร 2022-06-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๖ ข หน้า ๖, ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- คุณหญิง
- นักธุรกิจชาวไทย
- บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- บุคคลจากมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จ.จ.
- บุคคลจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
- คริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกชาวไทย
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2508
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่