ประเทศไทยในเอเชียนเกมส์ 2010

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศไทย
ในเอเชียนเกมส์ 2010
รหัสประเทศTHA
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย
เว็บไซต์www.olympicthai.org
กว่างโจว ประเทศจีน
นักกีฬา593 คน ใน 39[2] ชนิดกีฬา
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีเปิด)ดนัย อุดมโชค[1]
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีปิด)สืบศักดิ์ ผันสืบ
เหรียญ
อันดับ 9
ทอง
11
เงิน
9
ทองแดง
32
รวม
52
การเข้าร่วมแข่งขันเอเชียนเกมส์ (ภาพรวม)

ประเทศไทย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 16 ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553) จะจัดขึ้นที่ เมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน ถึง 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ซึ่งในครั้งนี้ ประเทศไทยนับเป็นประเทศที่ส่งนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไปร่วมด้วยจำนวน 817 คน นับเป็นอันดับ 4 รองจาก ประเทศจีน ซึ่งเป็นเจ้าภาพ, ประเทศเกาหลีใต้ และประเทศญี่ปุ่น[3]

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

สรุปเหรียญรางวัลที่ประเทศไทยได้รับจากการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2010 แยกตามชนิดกีฬา
กีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม
เซปักตะกร้อ 4 0 0 4
เรือใบ 3 1 2 6
เทควันโด 2 2 4 8
มวยสากล 1 1 2 4
กรีฑา 1 0 2 3
ยิงปืน 0 1 4 5
แบดมินตัน 0 1 1 2
ยกน้ำหนัก 0 1 1 2
ขี่ม้า 0 1 0 1
กาบัดดี้ 0 1 0 1
กีฬาไม้คิว 0 0 3 3
เรือมังกร 0 0 3 3
จักรยาน 0 0 2 2
คาราเต้ 0 0 2 2
เทนนิส 0 0 2 2
พายเรือ 0 0 1 1
รักบี้ 0 0 1 1
วอลเลย์บอล 0 0 1 1
วูซู 0 0 1 1
รวม 11 9 32 52

เหรียญรางวัล[แก้]

เหรียญ นักกีฬา กีฬา ประเภท วันที่
สริตา ผ่องศรี เทควันโด แบนตัมเวท -53 กก. หญิง 18 พฤศจิกายน
ชัชวาล ขาวละออ เทควันโด ฟินเวท -54 กก. ชาย 20 พฤศจิกายน
ธิดาวรรณ ดาวสกุล ดารณี วงศ์เจริญ
นิตินัดดา แก้วคำไสย พยอม ศรีหงษา
สุนทรี รูปสูง นรีรัตน์ ตาขัน
วันวิสาข์ จันทร์แก่น แก้วใจ พุ่มสว่างแก้ว
พิกุล สีดำ รุ่งทิพย์ ตะนะขิง
นิสา ธนะอรรถวุฒิ มัสยา ด้วงศรี
เซปักตะกร้อ ทีมชุดหญิง 20 พฤศจิกายน
กฤษณะ ธนะกรณ์ เกรียงไกร แก้วเมียน
สุริยัน เป๊ะชาญ ภัทรพงษ์ ยุพดี
สืบศักดิ์ ผันสืบ ศุภชัย มณีนาถ
สมพร ใจสิงหล สิงหา สมสกุล
พรชัย เค้าแก้ว ศิริวัฒน์ สาขา
อนุวัฒน์ ไชยชนะ วีรวุฒิ ณ หนองคาย
เซปักตะกร้อ ทีมชุดชาย 20 พฤศจิกายน
นพเก้า พูนพัฒน์ เรือใบ ออปติมิสหญิง 20 พฤศจิกายน
กีระติ บัวลง เรือใบ เลเซอร์เรเดียลโอเพน 20 พฤศจิกายน
ดำรงศักดิ์ วงศ์ทิม และกฤษฎา วงศ์ทิม เรือใบ โฮบี 16 โอเพน 20 พฤศจิกายน
พรชัย เค้าแก้ว ภัทรพงษ์ ยุพดี
อนุวัฒน์ ไชยชนะ ศุภชัย มณีนาถ
เกรียงไกร แก้วเมียน วีรวุฒิ ณ หนองคาย
เซปักตะกร้อ ทีมชาย 24 พฤศจิกายน
ธิดาวรรณ ดาวสกุล พยอม ศรีหงษา
สุนทรี รูปสูง นรีรัตน์ ตาขัน
ดารณี วงศ์เจริญ พิกุล สีดำ
เซปักตะกร้อ ทีมหญิง 24 พฤศจิกายน
ภัสสร จักษุนิลกร นงนุช แสนราช
ณีรนุช กล่อมดี ทัศพร วรรณกิจ
ลภัสภร ถาวรเจริญ จินตรา เสียงดี
กรีฑา วิ่งผลัด 4x100 เมตร หญิง 26 พฤศจิกายน
วรพจน์ เพชรขุ้ม มวยสากล แบนตั้มเวท ชาย 26 พฤศจิกายน
เพ็ญศิริ เหล่าศิริกุล ยกน้ำหนัก 48 กก. หญิง 13 พฤศจิกายน
สาวิตรี อมิตรพ่าย สลักจิต พลสนะ
ดวงอนงค์ อรุณเกษร ปัญญดา มั่นกิจโชคเจริญ
พรทิพย์ บูรณะประเสริฐสุข ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย
รัชนก อินทนนท์ สราลีย์ ทุ่งทองคำ
ณิชชาอร จินดาพล กุลชลา วรวิจิตรชัยกุล
แบดมินตัน ทีมหญิง 15 พฤศจิกายน
วิชชุดา ไพจิตรกาญจนกุล
รัชฎาภรณ์ เปล่งแสงทอง
ศุภมาส วันแก้ว
ยิงปืน ปืนยาวท่านอน ทีมหญิง 15 พฤศจิกายน
นาชา ปั้นทอง เทควันโด -63 กก. ชาย 19 พฤศจิกายน
แทรี่ ลิมน์ อิมพ์สัน
พรหมธร กิ่งวรรณ
รุจิราภรณ์ ณีนา ลิเกิล
วรภัฎ ปิฎกานนท์
ขี่ม้า ทีมอีเวนท์ติ้ง (ข้ามเครื่องกีดขวาง) 20 พฤศจิกายน
เอก บุญสวัสดิ์ เรือใบ อาร์เอส-เอ็กซ์ ชาย 20 พฤศจิกายน
เป็นเอก การะเกตุ เทควันโด -58 กก. ชาย 20 พฤศจิกายน
ชลดา ชัยประพันธ์ เยาวเรศ นิสสระ
วรรทกานต์ กรรมโชติ จันจิรา ปานประเสริฐ
น้ำฝน ค้างคีรี อัจฉรา พวงเงิน
นาลีรัตน์ เกสโร กมลทิพย์ สุวรรณชนะ
อลิสา ลิ้มสำราญ สุทารัตน์ ทองหุน
นุชนาถ ไม้หวั่น ตรีวราภรณ์ ทองนุ่น
กาบัดดี้ ทีมหญิง 26 พฤศจิกายน
ทัศมาลี ทองจันทร์ มวยสากล ไลท์เวท 60 กก. หญิง 26 พฤศจิกายน

อ้างอิง[แก้]

  1. "The flag bearer for Thailand leads the delegation during the opening ceremony of the 16th Asian Games in Guangzhou". All Voices.
  2. "Thailand - Number of Entries by Sport". The Official Website of the 16th Asian Games.[ลิงก์เสีย]
  3. ไทยส่งนักกีฬา-เจ้าหน้าที่มากสุดอันดับ4ในอชก[ลิงก์เสีย]