ปฏิบัติการสปริงอะเวคะนิง
ปฏิบัติการสปริงอเวเคนนิ่ง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง, แนวรบด้านตะวันออก | |||||||
![]() หน่วยทหารเยอรมันในช่วงปฏิบัติการ, มีนาคม ค.ศ. 1945 | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
![]() ราชอาณาจักรฮังการี |
![]() ![]() ![]() | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
![]() (กองทัพแพนเซอร์เอ็สเอ็สที่ 6) |
![]() (แนวรบยูเครนที่ 3) | ||||||
กำลัง | |||||||
|
| ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
Total casualties:
|
Total casualties:
|
แม่แบบ:Campaignbox Hungary 1944-1945
ปฏิบัติการสปริงอเวเคนนิ่ง (Unternehmen Frühlingserwachen) เป็นปฏิบัติการการรุกครั้งสุดท้ายที่สำคัญของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง.เกิดขึ้นในประเทศฮังการีบน (แนวรบด้านตะวันออก) การรุกครั้งนี้ได้ถูกเรียกในเยอรมนีว่า การรุกแพทเทนซี (Plattensee Offensive) และในสหภาพโซเวียตว่า ปฏิบัติการป้องกันบอลอโตน (Balaton Defensive Operation) (6 – 15 มีนาคม ค.ศ. 1945)
การรุกได้เริ่มต้นขึ้นด้วยความลับสุดยอด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1945 ด้วยการโจมตีที่ทะเลสาบบอลอโตน,พื้นที่รวมบางแห่งของแหล่งน้ำมันสำรองสุดท้ายที่จะมีประโยชน์ต่อฝ่ายอักษะ ปฏิบัติการนี้ได้เกี่ยวข้องกับหน่วยทหารเยอรมันจำนวนมากที่ได้ถอนกำลังจากความล้มเหลวของการรุกป่าอาร์แดนบน (แนวรบด้านตะวันตก) รวมทั้งกองทัพแพนเซอร์เอ็สเอ็สที่ 6 และหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สรองลงมา ปฏิบัติการครั้งนี้คือความล้มเหลวของเยอรมนี
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 G.F. Krivosheyev, 'Soviet Casualties and Combat Losses in the twentieth century', London, Greenhill Books, 1997, ISBN 1-85367-280-7, Page 110
- ↑ Frieser et al. 2007, pp. 942–943.