บุคลากรในงานภาพยนตร์
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บุคลากรในงานภาพยนตร์ คือบุคลากรที่ทำงานในวงการภาพยนตร์ มีด้วยกันหลากหลายตำแหน่งมาก อาจสามารถจำแนกได้ทั้ง ก่อนการผลิต ระหว่างการผลิต และหลังการผลิต แต่บางตำแหน่งก็อาจจะไม่ตายตัว บางต่ำแหน่งต้องรับผิดชอบงานทั้งหมดก็มี หรือบางตำอาจมีปลีกย่อยลงไปได้อีก โดยมีดังต่อไปนี้
ก่อนการผลิตจะต้องพิจารณา[แก้]
มีการแนะนำว่า บทความนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนควรย้ายไปโครงการวิกิพจนานุกรม (อภิปราย) เนื่องจากการจัดรูปแบบเนื้อหาไม่ตรงตามนโยบายของวิกิพีเดียที่เป็นสารานุกรม และอาจเข้ากับโครงการวิกิพจนานุกรมมากกว่า |
- Author : ผู้ประพันธ์ อาจเป็นผู้ที่แต่งชิ้นงานนั้นๆขึ้นมาอยู่แล้ว
- Screenwriter : ผู้เขียนบท
ระหว่างการผลิตจะต้องพิจารณา[แก้]
- Producer : ผู้อำนวยการสร้างและควบคุมการผลิต
- Associate Producer : ผู้อำนวยการดูการสร้าง เป็นคนที่คอยมาตรวจดูการสร้าง
- Production Manager : ผู้จัดการกองถ่าย เป็นผู้ที่คอยควบคุมและคอยดูแลในกองถ่าย
- Production Accountant : ฝ่ายบัญชีกองถ่าย ผู้อำนวยการงบประมาณในกองถ่าย
- Director : ผู้กำกับ เป็นผู้ที่ควบคุมกองถ่าย
- First Assistant Director (1st AD) : ผู้ช่วยผู้กำกับหนึ่ง
- Second Assistant Director (2nd AD) : ผู้ช่วยผู้กำกับสอง
- Third Assistant Director (3rd AD) : ผู้ช่วยผู้กำกับสาม
- Director of Photography (DOP/DP) : ผู้กำกับภาพ เป็นผู้ที่ดูแลเรื่องภาพที่จะถ่ายออกมา
- Camera Operator : ช่างภาพ
- Focus Puller : ผู้ปรับชัดระยะถ่าย
- First Assistant Camera (1st AC) : ผู้ช่วยช่างภาพหนึ่ง
- Second Assistant Camera (2nd AC) : ผู้ช่วยช่างภาพสอง
- Claper/Loader : ผู้ช่วยผู้กำกับภาพสอง ช่วยในการวัดระยะภาพและบันทึกสเลท
- Dolly Pusher : ผู้เข็นดอลลี่ ฐานเลื่อนใต้กล้อง อาจรวมถึงเครนด้วย
- Digital Imaging Technician (DIT) : ผู้จัดการข้อมูลภาพ ณ กองถ่าย
- Gaffer : ผู้ออกแบบแสง เป็นผู้ที่ดูแลเรื่องการจัดแสงไฟให้เป็นไปตามที่ผู้กำกับภาพต้องการ
- Script Supervisor : ผู้ดูแลความต่อเนื่องของบท
- Continuity : ผู้ดูแลและจดจำความต่อเนื่อง คอยดูแลความต่อเนื่องของการแสดงในแต่ละช็อต
- Art Director : ผู้กำกับฝ่ายศิลป์ มีหน้าที่ดูแลและตกแต่งฉาก
- Prop Master : หัวหน้าอุปกรณ์และวัสดุ
- Unit Carpenter/Painter : ช่างไม้และทาสี
- Electrician : ช่างไฟฟ้า ดูแลเรื่องไฟฟ้าในกองถ่าย
- Rigger : ผู้ดูแลเครื่องมือขนาดใหญ่
- Costume Designer : ผู้ออกแบบเสื้อผ้า
- Wardrobe Supervisor : ผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย
- Make-Up Artist : ช่างแต่งหน้า
- Hair Stylist : ผู้ออกแบบทรงผม
- Actor : นักแสดงชาย
- Actress : นักแสดงหญิง
- Boom Operator : คนถือไมค์บูม
- Sound Recordist : ผู้บันทึกเสียง
- Sound Designer : ผู้ออกแบบเสียง
- Assistant Sound Engineer : ผู้ช่วยผู้บันทึกเสียง (ส่วนมากจะต้องช่วยถือไมค์บูม)
- Editor : ผู้ตัดต่อลำดับภาพ
- Colorist : ผู้ออกแบบสีภาพ
- Stills Photographer : ผู้บันทึกภาพนิ่ง
- Police Liasion : ผู้ติดต่อประสานงาน คอยประสานงานระหว่างกองถ่ายและบุคคลภายนอก
ในกองบางกองอาจจะมีปลีกย่อยลงไปอีก หรือมีน้อยกว่านี้ ขึ้นอยู่กับขนาดในกองถ่าย
หลังการผลิตจะต้องพิจารณา[แก้]
- Publicity Director : บรรณาธิการฝ่ายประชาสัมพันธ์
อ้างอิง[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับภาพยนตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาพยนตร์ |