แยซด์

พิกัด: 31°53′50″N 54°22′4″E / 31.89722°N 54.36778°E / 31.89722; 54.36778
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก นครประวัติศาสตร์แยซด์)
แยซด์
เมือง
แยซด์ตั้งอยู่ในประเทศอิหร่าน
แยซด์
แยซด์
ที่ตั้งเมืองแยซด์ในประเทศอิหร่าน
พิกัด: 31°53′50″N 54°22′4″E / 31.89722°N 54.36778°E / 31.89722; 54.36778
ประเทศธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
จังหวัดแยซด์
เทศมณฑลแยซด์
อำเภอกลาง
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีเมฮ์ดี แจมอลีเนฌอด[1]
 • ประธานสภาเทศบาลนครGholam Ali Sefid
ความสูง1,216 เมตร (3,990 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน พ.ศ. 2559)
 • เขตเมือง529,673 [2] คน
เขตเวลาUTC+3:30 (เวลามาตรฐานอิหร่าน)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+4:30 (เวลาออมแสงอิหร่าน)
รหัสพื้นที่035
ภูมิอากาศBWh
เว็บไซต์yazd.ir
ชื่อที่ขึ้นทะเบียนนครประวัติศาสตร์แยซด์
ประเภทวัฒนธรรม
เกณฑ์(iii), (v)
ขึ้นเมื่อ2560 (คณะกรรมการสมัยที่ 41)
เลขอ้างอิง1544
รัฐสมาชิกอิหร่าน
ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก

แยซด์ (เปอร์เซีย: یزد, ออกเสียง: [jæzd] ( ฟังเสียง)) ในอดีตมีชื่อว่า เยซด์[3][4] เป็นเมืองหลักของจังหวัดแยซด์ ประเทศอิหร่าน ตั้งอยู่ห่างจากเอสแฟฮอนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 270 กิโลเมตร (170 ไมล์) จากสำมะโน พ.ศ. 2554 เมืองนี้มีประชากร 529,673 คน และเป็นเมืองที่ใหญ่ในอันดับ 15 ของประเทศอิหร่าน ตั้งแต่ พ.ศ. 2560 ทางยูเนสโกประกาศให้เมืองประวัติศาสตร์แยซด์ให้เป็นแหล่งมรดกโลก[5]

ชื่อ[แก้]

แยซด์ หมายถึง "บริสุทธิ์" และ "ศักดิ์สิทธิ์" ดังนั้น เมืองแยซด์จึงหมายถึง "นครแห่งผู้ศักดิ์สิทธิ์ [คือพระเจ้า]"[6]

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของแยซด์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 27.0
(80.6)
28.0
(82.4)
32.0
(89.6)
37.0
(98.6)
41.0
(105.8)
44.0
(111.2)
45.0
(113)
45.6
(114.1)
42.0
(107.6)
36.0
(96.8)
30.0
(86)
27.4
(81.3)
45.6
(114.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 12.9
(55.2)
15.9
(60.6)
20.6
(69.1)
26.0
(78.8)
32.2
(90)
37.2
(99)
39.6
(103.3)
38.1
(100.6)
34.0
(93.2)
27.6
(81.7)
19.3
(66.7)
14.0
(57.2)
26.45
(79.61)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 6.3
(43.3)
9.0
(48.2)
13.8
(56.8)
18.7
(65.7)
24.5
(76.1)
29.4
(84.9)
31.7
(89.1)
29.9
(85.8)
25.4
(77.7)
19.3
(66.7)
11.7
(53.1)
6.9
(44.4)
18.88
(65.99)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −0.3
(31.5)
2.2
(36)
7.0
(44.6)
11.5
(52.7)
16.8
(62.2)
21.7
(71.1)
23.8
(74.8)
21.8
(71.2)
16.9
(62.4)
11.0
(51.8)
4.2
(39.6)
−0.1
(31.8)
11.38
(52.48)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −14.0
(7)
−10.0
(14)
−7.0
(19)
0.0
(32)
5.6
(42.1)
11.0
(51.8)
16.0
(60.8)
12.0
(53.6)
2.0
(35.6)
−3.0
(27)
−10.0
(14)
−16.0
(3)
−16
(3)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 7.0
(0.276)
0.8
(0.031)
11.0
(0.433)
21.9
(0.862)
0.6
(0.024)
2.0
(0.079)
0.0
(0)
0.0
(0)
3.0
(0.118)
0.0
(0)
2.0
(0.079)
0.0
(0)
48.3
(1.902)
ความชื้นร้อยละ 53 46 37 33 25 18 17 18 19 27 38 47 31.5
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 1 3 2 11 1 1 1 0 1 0 2 0 23
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 181.6 203.0 207.5 230.9 293.9 334.1 340.7 335.0 313.1 278.1 217.8 193.4 3,129.1
แหล่งที่มา 1: Climate-Data.org
แหล่งที่มา 2: NOAA (extremes, sun, humidity, 1961–1990)[7]

เมืองพี่น้อง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "شهـردار يــزد" [Mayor] (ภาษาเปอร์เซีย). Municipality of Yazd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-19. สืบค้นเมื่อ 18 February 2017.
  2. https://www.amar.org.ir/english
  3. EB (1888).
  4. EB (1911).
  5. "Historical City of Yazd Inscribed as World Heritage Site". 9 July 2017. สืบค้นเมื่อ 1 January 2018.
  6. JadvalYab.ir. "یزد". JadvalYab.ir. สืบค้นเมื่อ 2021-03-06. با ایزد و یزدان همریشه است و معنی آن پاک و مقدس و درخور تحسین و آفریننده ٔ خوبیهاست و نام شهر یزداز آن است.‏
  7. "Yazd Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ December 29, 2012.
  8. "Testvérvárosi kapcsolataink". jku.hu (ภาษาฮังการี). Berény Café. 2016-08-18. สืบค้นเมื่อ 2020-06-18.
  9. "დამეგობრებული ქალაქები". poti.gov.ge (ภาษาจอร์เจีย). Poti. สืบค้นเมื่อ 2020-06-18.

บรรณานุกรม[แก้]

  • "Yazd" , Encyclopædia Britannica, 9th ed., Vol. XXIV, New York: Charles Scribner's Sons, 1888, p. 733.
  • "Yezd" , Encyclopædia Britannica, 11th ed., Vol. XXVIII, New York: Encyclopædia Britannica, 1911, p. 919.
  • Choksy, Jamsheed K. (2020). "Yazd: a "Good and Noble City" and an "Abode of Worship"". ใน Durand-Guédy, David; Mottahedeh, Roy; Paul, Jürgen (บ.ก.). Cities of Medieval Iran. Brill. pp. 217–252. ISBN 978-90-04-43433-2.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  1. "تعداد جمعیت و خانوار به تفکیک تقسیمات کشوری براساس سرشماری عمومی نفوس و مسکن سال ۱۳۹۵". Statistical Center of Iran.