สามัญลักษณะ
(เปลี่ยนทางจาก ธรรมนิกาย)
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ส่วนหนึ่งของ | |
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมาย | |
นิพพาน | |
พระรัตนตรัย | |
หลักปฏิบัติ | |
ศีล · สมาธิ · ปัญญา สมถะ · วิปัสสนา บทสวดมนต์ | |
คัมภีร์ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก | |
หลักธรรม | |
ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38 | |
นิกาย | |
เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน | |
สังคม | |
ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน | |
การจาริกแสวงบุญ | |
สังเวชนียสถาน · การแสวงบุญในพุทธภูมิ | |
ดูเพิ่มเติม | |
คำศัพท์ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ |
สามัญลักษณะ (อ่านว่า สามันยะ-) แปลว่า ลักษณะที่มีเสมอกันในสังขารทั้งปวง
สามัญลักษณะ หมายถึงภาวะที่เกิดขึ้น ภาวะที่มีที่เป็นแก่สังขารคือสรรพสิ่งทั้งปวงอย่างเสมอภาคกัน ไม่มียกเว้น ไม่ว่าสังขารนั้นจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไตรลักษณ์ คือลักษณะประจำ 3 ประการของสังขาร และเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธรรมนิกาย คือกฎธรรมดาหรือข้อกำหนดที่แน่นอนของสังขารทั้งปวง
สามัญลักษณะ มี 3 ประการคือ
- อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ความเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา
- ทุกขตา ความเป็นทุกข์ คือทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
- อนัตตตา ความเป็นของมิใช่ตัวตน ความมิใช่อนัตตา
นิยมเรียกสั้นๆ ว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
อ้างอิง[แก้]
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548