ข้ามไปเนื้อหา

ทูรทรรศัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทูรทรรศนะ
ประเภท
การสร้างแบรนด์DD
ประเทศอินเดีย
คติพจน์สตฺยมฺ ศิวมฺ สุํทรมฺ
("ความสัตย์และพระศิวะ [พระเจ้า] เป็นสุนทร")
สำนักงานใหญ่นิวเดลี
พื้นที่ฉาย
อินเดีย
เจ้าของกระทรวงข้อมูลและการแพร่ภาพ
รัฐบาลอินเดีย
ผู้ปกครองปรสรรภารตี
บุคคลการหลัก
Mayank Kumar Agrawal (CEO)
วันที่เปิดตัว
15 กันยายน 1959; 65 ปีก่อน (1959-09-15)
ระบบภาพ
1080i (HDTV)
Callsign meaning
DoorDarshan
เว็บไซต์ทางการ
www.doordarshan.gov.in
ภาษาฮินดี, อังกฤษ, ทมิฬ, เตลูกู, กันนาดา, มฬยาลัม, มราฐา, เบงกอล, คุชราต, เมเต, อาฌาม, โอฑิยา

ทูรทรรศัน (อักษรโรมัน: Doordarshan, ย่อเป็น DD; แปลว่าโทรทัศน์) เป็นผู้แพร่ภาพโทรทัศน์สาธารณะของรัฐ ก่อตั้งโดยรัฐบาลอินเดียในปี 1959 โดยมีกระทรวงข้อมูลและการแพร่ภาพ โดยเป็นหนึ่งในสองแผนกย่อยของปรสรรภารตี[1] ทูรทรรศันเป็นหนึ่งในองค์การแพร่ภาพโทรทัศน์ที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียในแง่ของสิ่งอำนวยความสะดวกและสตูดิโอ[2] นอกจากแพร่ภาพโทรทัศน์แล้ว ยังให้บริการวิทยุ และทางออนไลน์

ปัจจุบัน ทูรทรรศัน ให้บริการในสตูดิโอ 46 แห่ง และช่องโทรทัศน์ 33 ช่อง ซึ่งได้แก่สองช่องที่แพร่ภาพทั่วทั้งประเทศ คือ DD National และ DD News[3] ช่องดาวเทียมที่แพร่ภาพระดับภูมิภาค 17 ช่อง, เครือข่ายระดับรัฐ 11 ช่อง, ช่องโทรทัศน์นานาชาติ (DD India), ช่องกีฬา (DD Sports), DD Bharati, ช่องวัฒนธรรมและข้อมูลข่าวสาร DD Urdu และช่องการเกษตร DD Kisan

ข้อวิจารณ์

[แก้]

ในสมัยดิเอเมอร์เยนซี ช่องทูรทรรศันถูกใช้งานเพื่อแพร่โฆษณาชวนเชื่อของรัฐ[4] และในระหว่างปฏิบัติการณ์ดาวน้ำเงินในปี 1984 มีการรายงานข่าวเฉพาะจากแหล่งข้อมูลของรัฐซึ่งบางส่วนถูกตรวจพบภายหลังว่าไม่จริง ในปี 2004 ช่องยังเซ็นเซอร์สารคดีเกี่ยวกับชยประกาศ นารายัณ ผู้นำฝ่ายค้านสมัยดิเอเมอร์เยนซี[5]

ในปี 2014 ช่องเผยแพร่บทปราศรัยความยาว 70 นาทีเนื่องในโอกาสวันวิชัยทัศมี ของผู้นำราษฏริยสวยัมเสวกสังฆ์ (RSS) โมหัน ภควัต รัฐบาลของโมทีในเวลานั้นถูกวิจารณ์ว่าเป็นการนำสื่อสารธารณะไปใช้งาน "โดยไม่ถูกต้อง"[6][7][8]

นับตั้งแต่การแพร่ภาพโทรทัศน์โดยเอกชนได้รับการรับรองในปี 1991 ยอดเข้าชมของทูรทรรศันลดลงอย่างมาก[9] กระนั้นช่องยังคงได้รับเงินจากการโฆษณามากมาย อันเนื่องมาจากข้อบังคับผู้โฆษณาทางช่องต้องทำการประมูลด้วยจำนวนเงินมากที่สุดขณะแพร่ภาพเหตุการณ์ระดับชาติและแมตช์คริกเก็ต[10]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The future of Doordarshan is on the block". November 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 August 2017. สืบค้นเมื่อ 20 August 2017.
  2. "Doordarshan turns 57; watch the video of its first telecast plus 7 lesser-known facts about DD". 15 September 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2017. สืบค้นเมื่อ 13 October 2017.
  3. Jebaraj, Priscilla (14 September 2010). "'Irregular' Doordarshan appointments quashed". The Hindu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 May 2014. สืบค้นเมื่อ 6 May 2014.
  4. "Channel war drives DD to shelve bias". The Telegraph. New Delhi. 26 January 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2012. สืบค้นเมื่อ 29 May 2012.
  5. Kuldip Nayar Posted: 9 November 2004 at 0012 hrs IST (9 November 2004). "Censoring his own past". The Indian Express. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 December 2010. สืบค้นเมื่อ 29 May 2012.
  6. "Doordarshan telecasts RSS chief's speech live, stirs controversy". The Times of India. 3 October 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2014. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  7. Kalbag, Chaitanya (3 October 2014). "A dangerous line was crossed when Doordarshan telecast Bhagwat's speech live". Quartz. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2014. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  8. "RSS chief Mohan Bhagwat's speech covered just like a news event: Doordarshan". The Indian Express. 3 October 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2014. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  9. Bhatt, Shephali (Sep 22, 2019). "Doordarshan turns 60: Here is a nostalgic look at the broadcaster's milestones". India Times.
  10. "DD leads viewership sweepstakes &#151 Tops among all homes nationwide, but lowest in C&S". Business Line. 23 July 2002. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2005. สืบค้นเมื่อ 29 May 2012.