ทำเนียบกำลังรบในยุทธการที่เดียนเบียนฟู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือรายชื่อกองกำลังที่ร่วมรบในยุทธการที่เดียนเบียนฟู ระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง ซึ่งกองกำลังหลัก ๆ ได้แก่รายชื่อด้านล่างนี้

กองทัพประชาชนเวียดนาม[แก้]

เวียดมินห์

ผู้บังคับบัญชา[แก้]

  • ผู้บัญชาการ : พลเอก วอ เหวียน ยาป
  • หัวหน้าคณะเสนาธิการ : พลเอก เฮือง วัน ไท (Hoang Van Thaï)

ทหารราบ[แก้]

  • กองพล 304, นายพล Hoang Sam :
    • กรมทหารราบที่ 9 (กองพัน 353, 375, 400)
    • กรมทหารราบที่ 57 (กองพัน 265, 346, 418)
    • กองพัน ทหารปืนใหญ่ที่ 345
  • กองพล 308, นายพล Vuong Thua Vu :
    • กรมทหารราบที่ 36 (กองพัน 80, 84, 89)
    • กรมทหารราบที่ 88 (กองพัน 23, 29, 322)
    • กรมทหารราบที่ 102 (กองพัน 18, 54, 79)
    • กองพันทหารปืนใหญ่
  • กองพล 312, นายพล Le Trong Tan :
    • กรมทหารราบที่ 141 (กองพัน 11, 16, 428)
    • กรมทหารราบที่ 165 (กองพัน 115, 542, 564)
    • กรมทหารราบที่ 209 (กองพัน 130, 154, 166)
    • กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 154
  • กองพล 316, นายพล Le Quang Ba :
    • กรมทหารราบที่ 98 (กองพัน 215, 439, 933)
    • กรมทหารราบที่ 174 (กองพัน 249, 251, ?)
    • กรมทหารราบที่ 176 (กองพัน 888, 970, 999)
    • กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 980
  • กรมทหารอิสระที่ 148 :
    • กองพัน 900 (ไม่ครบอัตรากำลัง)
    • กองพัน 910
    • กองพัน 920
    • กองร้อยสรรพาวุธที่ 121
    • กองร้อยขนส่งที่ 523

ทหารปืนใหญ่[แก้]

  • กองพลหนักที่ 351, นายพล Vu Hien :
    • กรมทหารปืนใหญ่ที่ 45 (กองพัน 950, 954) (ปืนใหญ่ 105 มม. 24 กระบอก)
    • กรมทหารปืนใหญ่ที่ 675 (กองพัน 83, 175, 275) (ปืนใหญ่ 75 มม.18 กระบอก และเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 120 มม. 20 กระบอก)
    • กรมทหารเครื่องยิงลูกระเบิดหนักที่ 237 (เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 82 มม. 30 กระบอก)
    • กรมทหารต่อสู้อากาศยานที่ 367 (ปืนกลต่อสู้อากาศยานขนาด 12.7 มม. 100 กระบอก และปืนใหญ่ขนาด 37 มม. ของสหภาพโซเวียต รุ่นปี ค.ศ. 1939 80 กระบอก)
    • กรมทหารช่างที่ 151
    • หน่วยเครื่องยิงจรวด (เครื่องยิงจรวดคัทยูซา 12 เครื่อง)

ตัวเลขประมาณการกำลังพลทั้งหมด 80,000 คน โดยร่วมทั้งหน่วยประจำการและหน่วยลำเลียงยุทโธปกรณ์

ประมาณการการสูญเสียราว 23,000 คน

หน่วยปฏิบัติการพื้นที่ตะวันตกเฉียงเหนือ (Groupement Opérationnel du Nord-Ouest - GONO)[แก้]

ฝรั่งเศส สหภาพฝรั่งเศส

ผู้บังคับบัญชา[แก้]

ผู้บัญชาการฝ่ายฝรั่งเศสในยุทธการเดียนเบียนฟู: พลตรีเรเน กอญี (ถือไม้เท้า), พันเอกคริสตียอง เดอ กาสตรี (ไม่สวมหมวก), และพลจัตวาอองรี นาวาร์ (นั่งกลางภาพ)
  • กองบัญชาการ, พันเอก คริสตียอง เดอ กาสตรี
    • หน่วยย่อยด้านเหนือ (อานน์-มารี, กาบรีแอล), พันโท อังเดร ทรังการ์ (André Trancart)
    • หน่วยย่อยศูนย์กลาง (เบอาทรีซ, กลอดีน, ดอมีนีก, เอลียาน, อูแก็ตต์), พันโท ฌูลส์ โกเชร์ (Jules Gaucher) ต่อมาเปลี่ยนเป็น พันโท เลอเมอนิเยร์ (Lemeunier)
      Groupe Mobile 9 (GM 9)
      (I/13 DBLE, III/13 DBLE, I/2 REI, III/3 RTA)
    • หน่วยย่อยด้านใต้ (อีซาแบล), พันโท อันเดร ลาลังด์ (André Lalande)
      Groupe Mobile 6 (GM 6)
      (III/3 REI, II/1 RTA, V/7 RTA)
    • Groupement Aéroporté 2 (GAP 2), พันโท ปีแอร์ ลังเกลส์ (Pierre Langlais)
      (1 BEP, 8 BPC, 5 BPVN)
    • หน่วยปืนใหญ่, พันเอก ชาร์ล ปีร็อท (Charles Piroth)
      Groupement A, Major Alliou
      (III/10 RAC, 1 CEPML, 2 CMMLE)
      Groupement B, Major Guy Knecht
      (II/4 RAC, 11/IV/4 RAC, I GAACEO, 1 CMMLE)
    • หลังพันเอกปีร็อทเสียชีวิตในคืนระหว่างวันที่ 15 - 16 มีนาคม ค.ศ. 1954 ผู้เข้ารับหน้าที่แทนคือพันโท กีย์ วายยังต์ (Guy Vaillant) ในวันที่ 20 มีนาคม โดยมีพันโท โรแบง (Colonel Robin) เป็นผู้ช่วย

ทหารพลร่ม[แก้]

  • กองพันที่ 2 กรมทหารพลร่มไล่ล่าที่ 1 (II/1er RCP), Chef de bataillon Jean Bréchignac
  • กองพันพลร่มอาณานิคมที่ 1 (1er BPC), Capitaine Guy Bazin de Bezons
  • กองพันพลร่มอาณานิคมที่ 6 (6e BPC), Chef de bataillon Marcel Bigeard
  • กองพันพลร่มจู่โจมเร็วที่ 8 (8e BPC), Capitaine Pierre Tourret
  • กองพันพลร่มต่างด้าวที่ 1 (1er BEP), Chef de bataillon Maurice Guiraud
  • กองพันพลร่มต่างด้าวที่ 2 (2e BEP), Chef de bataillon Hubert Liesenfelt
  • กองพันพลร่มเวียดนามที่ 5 (5e BPVN, 5 Bawouan), Capitaine André Botella

ทหารราบ[แก้]

ธงของกองทหารต่างด้าวฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Légion étrangère, อังกฤษ: French Foreign Legion)
กองทหารต่างด้าว
  • กองพันที่ 1 กึ่งกองพลน้อยที่ 13 กองทหารต่างด้าวฝรั่งเศส (I/13e DBLE), Chef de bataillon de Brinon
  • กองพันที่ 3 กึ่งกองพลน้อยที่ 13 กองทหารต่างด้าวฝรั่งเศส (III/13e DBLE), Chef de bataillon Paul Pégot
  • กองพันที่ 1 กรมทหารราบต่างด้าวที่ 2 (I/2e REI), Chef de bataillon Clémençon
  • กองพันที่ 3 กรมทหารราบต่างด้าวที่ 3 (III/3e REI), Chef de bataillon Henri Grand d'Esnon
กองทัพแอฟริกา
  • กองพันที่ 2 กรมทหารตีรายเยอร์แอลจีเรียที่ 1(II/1er RTA), Capitaine Pierre Jeancenelle
  • กองพันที่ 3 กรมทหารตีรายเยอร์แอลจีเรียที่ 3(III/1e RTA), Capitaine Jean Garandeau
  • กองพันที่ 5 กรมทหารตีรายเยอร์แอลจีเรียที่ 7(V/7e RTA), Chef de bataillon Roland de Mecquenem
  • กองพันที่ 1 กรมทหารตีรายเยอร์โมร็อคโคที่ 4 (I/4e RTM), Chef de bataillon Jean Nicolas
  • 2e Groupement de Tabors Marocains
หน่วยรบอาณานิคม
  • กองพันชนชาติไทที่ 2 (BT 2), Chef de bataillon Maurice Chenel
  • กองพันชนชาติไทที่ 3 (BT 3), Chef de bataillon Léopold Thimonnier
กองทัพชาวเวียดนาม
  • กองพันเวียดนาม 301
หน่วยช่วยรบ
  • กองร้อยไทขาว 2 กองร้อย, Capitaine Michel Duluat
  • Reliquats des Compagnies de Supplétifs Militaires (CSM) du 1er Groupement Mobile de Partisans Thaïs (GMPT 1), Capitaine Bordier, provenant de Lai Châu
    • Groupement Wième, Lieutenant Réginald Wième
      • กองร้อยช่วยรบที่ 431 (CSM 431)
      • กองร้อยช่วยรบที่ 432 (CSM 432)
      • กองร้อยช่วยรบที่ 434 (CSM 434)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 413 (CSM 413)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 414 (CSM 414)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 415 (CSM 415)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 433 (CSM 433)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 272 (CSM 272)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 341 (CSM 341)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 416 (CSM 416)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 424 (CSM 424)
    • กองร้อยช่วยรบที่ 248 (CM 248)

On notera que nombre d'unités ont été aérotransportées avec au moins une partie de leurs supplétifs.

ทหารม้ายานเกราะ[แก้]

ทหารปืนใหญ่[แก้]

  • 2e Groupe du 4e Régiment d'Artillerie Coloniale (II/4 RAC), Chef de bataillon Guy Knecht, avec 12 obusiers de 105 mm M2A1
  • 3e Groupe du 10e Régiment d'Artillerie Coloniale (III/10 RAC), Chef de bataillon Alliou, avec 12 obusiers de 105 mm M2A1
  • 11e Batterie du 4e Groupe du 4e Régiment d'Artillerie Coloniale (11/IV/4 RAC), Capitaine Déal, avec 4 obusiers de 155 mm M114
  • 1 Section du 1er Groupe Antiaérien d'Artillerie Coloniale d'Extrême-Orient (1 GAACEO), Lieutenant Paul Redon, avec 4 affûts quadruples de mitrailleuses de 12,7 mm
  • Groupe de marche du 35e Régiment d'Artillerie Légère Parachutiste (GM/35 RALP), Chef de bataillon Millot, avec canons de 75 mm sans recul (SR)
  • Bataillon Artillerie Autonome Laotienne (BAAL), Capitaine Ladous
  • กองร้อยพลร่มเครื่องยิงลุกระเบิดหนักต่างด้าวที่ 1 (1 CEPML), Lieutenant Erwan Bergot, (เครื่องยิงลูกระเบิด 120 มม. 12 เครื่อง)
  • กองร้อยผสมเครื่องยิงลูกระเบิดหนักแห่งกองทหารต่างด้าวที่ 1 กรมทหารราบต่างด้าวที่ 3 (เครื่องยิงลูกระเบิด 120 มม. 8 เครื่อง)
  • กองร้อยผสมเครื่องยิงลูกระเบิดหนักแห่งกองทหารต่างด้าวที่ 2 กรมทหารราบต่างด้าวที่ 5 (เครื่องยิงลูกระเบิด 120 มม. 8 เครื่อง)

ทหารช่าง[แก้]

  • กรมทหารช่างที่ 31 (31 BG) (2 กองร้อย), Chef de bataillon André Sudrat
  • กรมทหารช่างพลร่มที่ 17 (17 CGP)

ทหารขนส่ง[แก้]

  • กองร้อยที่ 2 กองพันทหารขนส่งที่ 822 (2/822 BT)
  • กองร้อยที่ 2 กองพันทหารขนส่งที่ 823 (2/823 BT)
  • กองร้อยทหารพลร่มขนส่งที่ 342 (342 CPT)

เสนารักษ์[แก้]

Médecin-Chef : Capitaine Le Damany

  • Antenne Chirurgicale Mobile n°29 (ACM 29), Commandant Paul Grauwin
  • Antenne Chirurgicale Mobile n°44 (ACM 44), Lieutenant Jacques Gindrey
  • Antenne Chirurgicale Parachutiste n°3 (ACP 3), Lieutenant Louis Résillot
  • Antenne Chirurgicale Parachutiste n°5 (ACP 5), Capitaine Ernest Hantz
  • Antenne Chirurgicale Parachutiste n°6 (ACP 6), Lieutenant Jean Vidal

หน่วยยุทธบริการ[แก้]

  • กองร้อยบังคับการที่ 71
  • กองร้อยบังคับการและบริการที่ 6
  • กองร้อยบังคับการและบังคับการที่ 9
  • 3e Compagnie de Transport de Quartier Général (3 CTQG)
  • 3e Compagnie de Munitions (3 CM) (détachement)
  • 730e Compagnie de Ravitaillement (730 CR) (Service des Essences) (Dépôt 81) (détachement)
  • 712e Compagnie de Circulation Routière (712 CCR)
  • 2e Section de la 5e Compagnie Réparation Matériel Légion Etrangère (2/5 CRMLE)
  • 3e Légion de Marche/Garde Républicaine Gendarmerie Mobile (3 LM/GRGM) (détachement)
  • Groupe d'Exploitation Opérationnel n.1 (GEO 1) (Service de l'Intendance)
  • 403e Boîte Postale Militaire (403 BPM) (antenne)

หน่วยการข่าว[แก้]

  • Groupement Commandos n.8 du Groupe de Commandos Mixtes Aéroportés (GC 8/GCMA) (Partisans Méo), Capitaine Hébert
  • Détachement Opérations-Patrouilles (DOP)

กำลังทางอากาศ[แก้]

  • Groupe de Chasse 1/22 Saintonge (GC 1/22), équipé de Grumman F8F Bearcat
  • 21e Groupe Aérien d'Observation d'Artillerie (GAOA 21), équipé de Morane MS.500 Criquet
  • 23e Groupe Aérien d'Observation d'Artillerie (GAOA 23), équipé de Morane MS.500 Criquet (Muong Saï)
  • Détachement de Base Aérienne n.195 (DB 195)

En outre, le camp retranché bénéficie des moyens aériens de l'armée de l'air et de l'aéronavale.

L'effectif de la garnison au 7 mai 1954 se monte à 14 014 hommes comprenant les compagnies de services puis de logistique. L'armée française compte 2 293 morts dans ses rangs, et, sur les 11 721 soldats faits prisonniers, seulement 3 290 reviennent vivants en France.