ข้ามไปเนื้อหา

ทาม็อกซิเฟน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทาม็อกซิเฟน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าNolvadex, Genox, Tamifen และอื่นๆ[1]
ชื่ออื่นTMX; ICI-46474
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682414
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B3
  • US: D (มีความเสี่ยง)
ช่องทางการรับยาทางปาก
ประเภทยาSelective estrogen receptor modulator
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล~100%[5][2]
การจับกับโปรตีน>99% (albumin)[2]
การเปลี่ยนแปลงยาHepatic (CYP3A4, CYP2C9, CYP2D6)[2][3][4]
สารซึ่งได้หลังการเปลี่ยนแปลงยาAfimoxifene[4]
Endoxifen[4]
Norendoxifen[4]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ5–7 วัน[4]
การขับออกอุจจาระ: 65%
ปัสสาวะ: 9%
ตัวบ่งชี้
  • (Z)-2-[4-(1,2-Diphenylbut-1-enyl)phenoxy]-N,N-dimethylethanamine
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.031.004
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC26H29NO
มวลต่อโมล371.515 g/mol
563.638 g/mol (citrate salt) g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • CN(C)CCOc1ccc(cc1)/C(c2ccccc2)=C(/CC)c3ccccc3
  • InChI=1S/C26H29NO/c1-4-25(21-11-7-5-8-12-21)26(22-13-9-6-10-14-22)23-15-17-24(18-16-23)28-20-19-27(2)3/h5-18H,4,19-20H2,1-3H3/b26-25- checkY
  • Key:NKANXQFJJICGDU-QPLCGJKRSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ทาม็อกซิเฟน (Tamoxifen) หรือชื่อทางการค้าอื่นคือ โนลวาเด็ก (Nolvadex) หรือ ทามิเฟน (Tamifen) เป็นยาใช้สำหรับป้องกันมะเร็งเต้านมในสตรี และใช้รักษามะเร็งทรวงอกในสตรีและบุรุษ[6] และกำลังอยู่ระหว่างศึกษากับมะเร็งชนิดอื่น[6] ผู้ป่วยมะเร็งทรวงอกโดยทั่วไปจะรับประทานวันละเม็ดติดต่อกันเป็นเวลาสองถึงสามปีขึ้นไป[7]

ผลข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ยาได้แก่ นอนหลับยาก, ประจำเดือนมาไม่ปกติ, น้ำหนักลด และอาการร้อนวูบวาบ[8][7] ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ การเพิ่มความเสี่ยงเล็กน้อยในโรคมะเร็งมดลูก, โรคหลอดเลือดสมอง, ปัญหาการมองเห็น และสิ่งหลุดอุดหลอดเลือดของปอด[8] การใช้ยาระหว่างตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรอาจส่งผลร้ายต่อทารก[8]

ทาม็อกซิเฟนถูกคิดค้นขึ้นในปีค.ศ. 1962 โดยนักเคมี ดอรา ริชาร์ดสัน (Dora Richardson)[9][10] ปัจจุบันมีสถานะเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[11] และมีวางจำหน่ายทั่วไปเป็นยาสามัญ[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "NCI Drug Dictionary". 2011-02-02. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2015. สืบค้นเมื่อ 28 November 2015.
  2. 2.0 2.1 2.2 Morello KC, Wurz GT, DeGregorio MW (2003). "Pharmacokinetics of selective estrogen receptor modulators". Clinical Pharmacokinetics. 42 (4): 361–72. doi:10.2165/00003088-200342040-00004. PMID 12648026.
  3. https://www.accessdata.fda.gov/drugsatfda_docs/label/2002/17970s37s44s49lbl.pdf
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 Sanchez-Spitman AB, Swen JJ, Dezentje VO, Moes DJ, Gelderblom H, Guchelaar HJ (June 2019). "Clinical pharmacokinetics and pharmacogenetics of tamoxifen and endoxifen". Expert Review of Clinical Pharmacology. 12 (6): 523–536. doi:10.1080/17512433.2019.1610390. PMID 31008668.
  5. George M. Brenner; Craig Stevens (28 September 2017). Brenner and Stevens' Pharmacology E-Book. Elsevier Health Sciences. pp. 394–. ISBN 978-0-323-39172-6.
  6. 6.0 6.1 "Tamoxifen Citrate". NCI. August 26, 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 January 2016. สืบค้นเมื่อ 28 November 2015.
  7. 7.0 7.1 TAMOXIFEN เก็บถาวร 2019-08-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ และมูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา. สืบค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2019
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 "Tamoxifen Citrate". The American Society of Health-System Pharmacists. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-04. สืบค้นเมื่อ 27 Nov 2015.
  9. Quirke VM (12 Sep 2017). "Tamoxifen from Failed Contraceptive Pill to Best-Selling Breast Cancer Medicine: A Case-Study in Pharmaceutical Innovation". Frontiers in Pharmacology. 8: 620. doi:10.3389/fphar.2017.00620. PMC 5600945. PMID 28955226.
  10. Jordan VC (January 2006). "Tamoxifen (ICI46,474) as a targeted therapy to treat and prevent breast cancer". British Journal of Pharmacology. 147 Suppl 1 (Suppl 1): S269-76. doi:10.1038/sj.bjp.0706399. PMC 1760730. PMID 16402113.
  11. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2016. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.