ข้ามไปเนื้อหา

ตะพาบนกยูงอินเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ตะพาบนกยูงอินเดีย
สถานะการอนุรักษ์
CITES Appendix I (CITES)[2]
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
Animalia
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
Chordata
ชั้น: สัตว์เลื้อยคลาน
Reptilia
อันดับ: เต่า
Testudines
อันดับย่อย: อันดับย่อยเต่า
Cryptodira
วงศ์: วงศ์ตะพาบ
Trionychidae
สกุล: สกุลตะพาบนกยูง
Nilssonia
(Gray, 1831)[1]
สปีชีส์: Nilssonia hurum
ชื่อทวินาม
Nilssonia hurum
(Gray, 1831)[1]
ชื่อพ้อง[3]
  • Trionyx occellatus Gray, 1830
  • Trionyx hurum Gray, 1831
  • Gymnopus duvaucelii Duméril & Bibron, 1835
  • Gymnopus ocellatus Duméril & Bibron, 1835
  • Trionyx bellii Gray, 1872
  • Trionyx sewaare Gray, 1872
  • Trionyx buchanani Theobald, 1874
  • Isola hurum Baur, 1893
  • Aspideretes hurum Hay, 1904
  • Aspidonectes hurum Hay, 1904
  • Tyrse hurum Hay, 1904
  • Amyda hurum Barbour, 1912
  • Gymnopus duvaucelli Smith, 1931
  • Trionix hurum Richard, 1999
  • Testudo chim Buchanan-Hamilton, 1831 (nomen nudum)

ตะพาบนกยูงอินเดีย, ตะพาบน้ำลายนกยูง หรือ ตะพาบมยุรา (อังกฤษ: Indian peacock softshell turtle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Nilssonia hurum) เป็นสายพันธุ์ของตะพาบที่พบในเอเชียใต้ และถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงไอยูซีเอ็นว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่ใกล้การสูญพันธุ์

เมื่อตะพาบนกยูงอินเดียโตเต็มวัยแล้ว จะมีกระดองยาวประมาณ 60 เซนติเมตร (23.6 นิ้ว) บนหลังมีวงจุดสีดำล้อมรอบด้วยวงสีเหลือง 4 วง (ตะพาบนกยูงสายพันธุ์นี้บางตัวอาจมี 5-6 วงได้) ตะพาบนกยูงอินเดียเมื่อโตขึ้น จุดสีดำบริเวณกระดองจากมีขนาดใหญ่มากขึ้น แต่สีเหลืองที่อยูบริเวณรอบ ๆ อาจเลือนหายไป บริเวณหัวมีจุดสีเหลืองในพื้นดำ และเมื่อเริ่มมีอายุมาก จุดสีเหลืองบริเวณหัวของมันจากเลือนไป แต่ลายสีดำยังคงชัดเจน

ตะพาบมยุรากำลังอาบแดด ที่ประเทศอินเดีย

ที่อยู่ทางภูมิศาสตร์

[แก้]

พบได้ในประเทศบังกลาเทศ ประเทศอินเดีย (รัฐมิโซรัม รัฐอัสสัม รัฐพิหาร รัฐมัธยประเทศ รัฐโอฑิศา รัฐราชสถาน รัฐอุตตรประเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตก) ประเทศเนปาล และประเทศปากีสถาน[1]

ที่ตั้งของต้นแบบในอินเดีย: เมืองฟาเตฮ์การฮ์ (Fatehgarh), แม่น้ำคงคา ถึงเมืองไพรักปุระ (Barrackpore) (ประมาณ 23 กิโลเมตรทางเหนือของเมืองโกลกาตา) ในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย[4]

เชิงอรรถและรายการอ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Das, I.; Choudhury, B.C.; Ahmed, M.F.; Praschag, P.; Singh, S. (2021). "Nilssonia hurum". IUCN Red List of Threatened Species. 2021: e.T39619A2931203. doi:10.2305/IUCN.UK.2021-1.RLTS.T39619A2931203.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
  2. "Appendices | CITES". cites.org. สืบค้นเมื่อ 2022-01-14.
  3. Fritz 2007, p. 000.310
  4. Webb, R.G. 1980 Gray, Hardwicke, Buchanan-Hamilton, and drawings of Indian soft-shell turtles (Family Trionychidae). Amphibia-Reptilia 1: 61-74. Webb (1980: 71)
บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • Safi, A., Khan, M. Z.,2014. Distribution and current population of freshwater turtles of District Charsadda of Khyber Pakhtunkhwa, Pakistan. The Journal of Zoology studies. 1(4): 31–38. http://www.journalofzoology.com
  • Anderson, J. 1872 Note on Trionyx gangeticus, and Trionyx hurum, B. Hamilton. Ann. Mag. Nat. Hist. (4) 9: 382-383
  • Anderson, J. 1872 On Trionyx gangeticus, Cuvier, Trionyx hurum, B.H. and Dr. Gray. Ann. Mag. Nat. Hist. (4) 10: 219-222
  • Gray, J. E. 1831 A synopsis of the species of Class Reptilia. In: Griffith, E & E. Pidgeon: The animal kingdom arranged in conformity with its organisation by the Baron Cuvier with additional descriptions of all the species hither named, and of many before noticed [Vol. 9]. Whittaker, Treacher and Co., London: 481 + 110 pp.
  • Gray, J.E. 1872 On Indian Mud-Tortoises (Trionyx). Ann. Mag. Nat. Hist. (4) 9: 473-475
  • Meylan, P.A. 1987 The phylogenetic relationships of soft-shelled turtles (Family Trionychidae). Bulletin of the American Museum of Natural History 186 (1):1-101.