ตรันซ์ตูจุฮ์
![]() | บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
![]() | |
ประเทศ | ![]() |
---|---|
พื้นที่แพร่ภาพ | Free To Air/Cable/Satellite |
ความเป็นเจ้าของ | |
ช่องรอง | Trans TV |
ลิงก์ | |
เว็บไซต์ | www.trans7.co.id |
ออกอากาศ | |
เคเบิลทีวี | |
First Media | Channel 8 |
TransVision | Channel 801 |
ทีวีดาวเทียม | |
MNC Vision | Channel 110 |
TransVision | Channel 801 |
ตรันซ์ตูจุฮ์ (อินโดนีเซีย: Trans7) หรือเดิมรู้จักกันในชื่อ ช่อง7 อินโดนีเซีย (TV7) เป็นสถานีโทรทัศน์เชิงพาณิชย์ สถานีประจำการที่ใจกลางเมืองกรุงจาการ์ตา ได้ร่วมกับ กรามีเดียกรูป (Gramedia Group) และ ตรันซ์ เตเฟ (Trans TV) ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 ธันวามคม พ.ศ. 2544 ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ได้เปลี่ยนช่องอย่างเป็นการคือ ตรันซ์ตูจุฮ์ (Trans 7) จากเดิมคือช่อง 7 สาเหตุมาจาก ได้โอนกิจการกึ่งหนึ่งจากตรันซ์ คอร์ป (Trans Corp) โดยเฉพาะเจ้าของบริษัทคือ ตรันซ์ เตเฟ (Trans TV) โดยมีคำขวัญที่ว่า Semakin Beragam Semakin Menarik" ("หลากหลาย เพิ่มพูน หลายหลายความสนใจ")
ในปี พ.ศ. 2546 ทางสถานีได้ถ่ายทอดข่าวจากสถานีโทรทัศน์อัลญะซีเราะฮ์ ในระหว่างการโจมตีในอิรัก
ประวัติ
[แก้]Trans7 ก่อตั้งขึ้นในฐานะเป็น TV7 โดยได้รับใบอนุญาตจากกรมการค้าและอุตสาหกรรมในจาการ์ตาส่วนกลาง หมายเลข 809 / BH.09.05 / III / 2000 โดยมี คอมปาส กรามีเดีย (Kompas Gramedia) เป็นเจ้าของหุ้น 88% เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2544 TV7 ถูกตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาฉบับที่ 8687 เป็นของ PT Duta Visual Nusantara Tivi Tujuh โดยสัญลักษณ์คือตัวอักษร "JO" ซึ่งย่อมาจาก Jakob Oetama เจ้าของ Kompas Gramedia โลโกยังมีพื้นฐานมาจากโลโก Circle 7 ที่ บริษัท American Broadcasting ใช้สำหรับสถานี O&O ในอเมริกาเหนือ
เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2549 CT Corp ทางบริษัท Trans Corp ได้รับอนุญาตให้ซื้อหุ้น PT Duta Visual Nusantara Tivi Tujuh 49% พร้อมกับการเปิดตัวอีกครั้งในวันที่ 15 ธันวาคม 2549 วันนี้ถูกกำหนดให้เป็นวันก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ตรันซ์ตูจุฮ์ ปัจจุบันกรรมการผู้จัดการของตรันซ์ตูจุฮ์ คือ Atiek Nur Wahyuni เมื่อสถานีนั้นมีชื่อว่า TV7 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ Wisma Dharmala Sakti Floor 21 Jend Sudirman Street Lot 32 จาการ์ตา 10220 นับตั้งแต่การซื้อกิจการอย่างเป็นทางการของ TV7 โดย Trans Corp, TV7 เริ่มทำการแบ่งพื้นที่สำนักงานกับ Trans TV
ประเภทรายการ
[แก้]รายการที่ที่ออกอากาศส่วนใหญ่จะเป็นรายการ บันเทิง และ การเรียนรู้ นอกจากนั้นแล้วจมีการถ่ายสอดการแข่งขันกีฬาพุตบอลกัลโช่ ซิเรีย อา (อิตาลี)
รายชื่อการรับสัญญาณภาคพื้นดิน
[แก้]- Jakarta 49 UHF
- Bandung 44 UHF
- Semarang 41 UHF
- Yogyakarta/Surakarta 46 UHF
- Surabaya 56 UHF
- Madiun 40 UHF
- Kediri 45 UHF
- Malang 60 UHF
- Denpasar 45 UHF
- Medan 41 UHF
- Palembang 22 UHF
- Lampung 22 UHF
- Pekanbaru 30 UHF
- Makassar 41 UHF
- Manado 32 UHF
- Pontianak 31 UHF
- Samarinda 49 UHF
- Banjarmasin 22 UHF
- Purwokerto 22 UHF
- Tegal 53 UHF
- Cirebon 47 UHF
- Garut 32 UHF
- Jayapura 22 UHF
- Kupang 36 UHF
- Balikpapan 22 UHF
- Padang 23 UHF[1]