ดีปบลูพบคาสปารอฟ
- 10–17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996: จัดที่ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐ
- ผล: คาสปารอฟ–ดีปบลู (4–2)
- บันทึกสถิติ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์แรกที่แพ้เจ้าของแชมป์โลกใน เกมคลาสสิก ตามระเบียบการแข่งขัน
รอบที่สอง (แข่งใหม่)
- 3–11 พฤษภาคม ค.ศ. 1997: จัดที่นครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก สหรัฐ
- ผล: ดีปบลู–คาสปารอฟ (3½–2½)
- บันทึกสถิติ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์แรกที่ชนะเจ้าของแชมป์โลกใน การแข่งขัน ตามระเบียบการแข่งขัน
การแข่งขันหมากรุกระหว่างดีปบลู-คาสปารอฟ เป็นแมตช์ของคู่แข่งขันระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อเสียงจำนวนหกเกม ฝ่ายหนึ่งคือซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ดีปบลู ซึ่งพัฒนาโดยไอบีเอ็ม อีกฝ่ายหนึ่งคือแชมป์หมากรุกระดับโลก แกรี คาสปารอฟ แมตช์แรกเล่นในฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 ผลปรากฏว่าคาสปารอฟชนะ 4-2 (ชนะ 3, เสมอ 2, แพ้ 1) การรีแมตช์เล่นในปี พ.ศ. 2540 ผลปรากฏว่าดีปบลูชนะ 3½-2½ (ดีปบลูชนะ 2, เสมอ 3, คาสปารอฟชนะ 1)
ตารางสรุป[แก้]
เกม # | หมากขาว | หมากดำ | ผลการเล่น | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
1 | ดีปบลู | คาสปารอฟ | 1–0 | ยอมแพ้ |
2 | คาสปารอฟ | ดีปบลู | 1–0 | ยอมแพ้ |
3 | ดีปบลู | คาสปารอฟ | ½–½ | เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย |
4 | คาสปารอฟ | ดีปบลู | ½–½ | เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย |
5 | ดีปบลู | คาสปารอฟ | 0–1 | ยอมแพ้ |
6 | คาสปารอฟ | ดีปบลู | 1–0 | ยอมแพ้ |
ผล: คาสปารอฟ–ดีปบลู: 4–2 |
เกม # | หมากขาว | หมากดำ | ผลการเล่น | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
1 | คาสปารอฟ | ดีปบลู | 1–0 | ยอมแพ้ |
2 | ดีปบลู | คาสปารอฟ | 1–0 | ยอมแพ้ |
3 | คาสปารอฟ | ดีปบลู | ½–½ | เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย |
4 | ดีปบลู | คาสปารอฟ | ½–½ | เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย |
5 | คาสปารอฟ | ดีปบลู | ½–½ | เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย |
6 | ดีปบลู | คาสปารอฟ | 1–0 | ยอมแพ้ |
ผล: ดีปบลู–คาสปารอฟ: 3½–2½ |
แมตช์ พ.ศ. 2539[แก้]
เกมที่ 1 ดีปบลู-คาสปารอฟ[แก้]
a | b | c | d | e | f | g | h | ||
8 | 8 | ||||||||
7 | 7 | ||||||||
6 | 6 | ||||||||
5 | 5 | ||||||||
4 | 4 | ||||||||
3 | 3 | ||||||||
2 | 2 | ||||||||
1 | 1 | ||||||||
a | b | c | d | e | f | g | h |
เกมที่ 1 ดีปบลู-คาสปารอฟ (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นการแข่งขันเกมแรกของแมตช์ พ.ศ. 2540 ผลปรากฏว่าดีปบลู คอมพิวเตอร์เล่นหมากรุก เอาชนะแชมป์หมากรุกระดับโลกในเงื่อนไขการแข่งขันหมากรุกทัวร์นาเมนต์ปกติ เช่นเดียวกับการควบคุมเวลาตามปกติ
เกมที่ 2 คาสปารอฟ-ดีปบลู[แก้]
a | b | c | d | e | f | g | h | ||
8 | 8 | ||||||||
7 | 7 | ||||||||
6 | 6 | ||||||||
5 | 5 | ||||||||
4 | 4 | ||||||||
3 | 3 | ||||||||
2 | 2 | ||||||||
1 | 1 | ||||||||
a | b | c | d | e | f | g | h |
เกมที่ 2 คาสปารอฟ-ดีปบลู (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เริ่มต้นด้วยการเปิดแบบคาตาลัน โอเพ่นนิง คาสปารอฟเล่นในสิ่งที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการตัดทางเลือกการเล่นของดีปบลู เกมดังกล่าวมีความยาว 73 ตาเดิน แต่ผู้ควบคุมของดีปบลูจำต้องยอมแพ้เกมสำหรับคอมพิวเตอร์ในตำแหน่งซึ่งผู้เล่นทั้งสองฝ่ายมีบิชอปฝั่งละหนึ่งตัว ในขณะที่คาสปารอฟมีเบี้ย 3 ตัว โดยที่ดีปบลูมีเบี้ย 1 ตัว
เกมที่ 3 ดีปบลู-คาสปารอฟ[แก้]
เกมที่ 3 ดีปบลู-คาสปารอฟ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) คาสปารอฟเล่นแบบซิซิเลียนดีเฟนซ์ ในขณะที่ดีปบลูรับมือด้วยการเล่นแบบอลาพิน วาเรียชัน เกมมีความยาว 39 ตาเดิน และจบลงด้วยการเสมอ
เกมที่ 4 คาสปารอฟ-ดีปบลู[แก้]
เกมที่ 4 คาสปารอฟ-ดีปบลู (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นเกมที่สองจบลงด้วยการเสมอ ถึงแม้วาถึงจุดหนึ่ง ทีมของดีปบลูจะปฏิเสธข้อเสนอให้เสมอกันของคาสปารอฟ เกมนี้เปิดด้วยเซมิสลาฟดีเฟนซ์
เกมที่ 5 ดีปบลู-คาสปารอฟ[แก้]
เกมที่ 5 ดีปบลู-คาสปารอฟ (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ถือได้ว่าเป็นจุดเปลียนของแมตช์การแข่งขัน ในเกมนี้ คาสปารอฟซึ่งเล่นหมากดำ เลือกที่จะเปิดในแบบที่แตกต่างออกไป โดยเลือกใช้โฟร์ไนทส์เกม จากซิซิเลียนดีเฟนซ์ ซึ่งเขาเลือกใช้ในเกมที่ 1 และเกมที่ 3 ในตาเดินที่ 23 คาสปารอฟยื่นข้อเสนอให้ผลจบลงด้วยการเสมอ แต่ทีมดีปบลูปฏิเสธ ผลปรากฏว่าคาสปารอฟชนะ เกมนี้เป็นเกมเดียวของแมตช์ที่หมากดำชนะ
เกมที่ 6 คาสปารอฟ-ดีปบลู[แก้]
a | b | c | d | e | f | g | h | ||
8 | 8 | ||||||||
7 | 7 | ||||||||
6 | 6 | ||||||||
5 | 5 | ||||||||
4 | 4 | ||||||||
3 | 3 | ||||||||
2 | 2 | ||||||||
1 | 1 | ||||||||
a | b | c | d | e | f | g | h |
เกมที่ 6 คาสปารอฟ-ดีปบลู (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นการแข่งขันเกมสุดท้ายของแมตช์ มีความยาว 43 ตาเดิน ในตอนท้ายเกม หมากของดีปบลูถูกกักอยู่กับควีนทางด้านข้างของกระดาน เกือบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะป้องกันคิงของคนเอง ดีปบลูถอนตัว เนื่องจากมันเสียหมากอย่างรวดเร็ว การเดินต่อไปของคาสปารอฟอาจเป็นไปได้ว่าจะเป็น 44. Qe7 เพื่อแลกควีน ซึ่งจะเปิดโอกาสให้เบี้ยของเขาเปลี่ยนเป็นหมากอื่นและเล่นต่อ
รีแมตช์ พ.ศ. 2540[แก้]
เกมที่ 1 คาสปารอฟ-ดีปบลู[แก้]
เกมที่ 1 คาสปารอฟ-ดีปบลู (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2540) เริ่มต้นด้วยเดอะคิงส์อินเดียนแอคแทค ซึ่งนำไปสู่ชัยชนะของคาสปารอฟใน 45 ตาเดิน
มีการกล่าวหาว่าตาเดินที่ 44 ของดีปบลูเป็นผลจากบั๊กที่ทำให้ไม่สามารถตัดสินใจจุดที่ต้องการได้ ก่อให้เกิดระบบความปลอดภัยแม้ขัดข้อง (fail-safe)[18][19][20]
เกมที่ 2 ดีปบลู-คาสปารอฟ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกมที่ 3 คาสปารอฟ-ดีปบลู[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกมที่ 4 ดีปบลู-คาสปารอฟ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกมที่ 5 คาสปารอฟ-ดีปบลู[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกมที่ 6 ดีปบลู-คาสปารอฟ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Pandolfini 1997, p. 164.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 164.
- ↑ "Deep Blue vs. Garry Kasparov, Philadelphia 1996, Game 1". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 166.
- ↑ Pandolfini 1997, pp. 165-166.
- ↑ "Garry Kasparov vs. Deep Blue, Philadelphia 1996, Game 2". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 167.
- ↑ "Deep Blue vs. Garry Kasparov, Philadelphia 1996, Game 3". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 168.
- ↑ "Garry Kasparov vs. Deep Blue, Philadelphia 1996, Game 4". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 169.
- ↑ "Deep Blue vs. Garry Kasparov, Philadelphia 1996, Game 5". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 170.
- ↑ Pandolfini 1997, p. 170.
- ↑ "Garry Kasparov vs. Deep Blue, Philadelphia 1996, Game 6". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Pandolfini 1997, pp. 13-39.
- ↑ "Garry Kasparov vs. Deep Blue, New York 1997, Game 1". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
- ↑ Tim Hornyak. "Did a bug in Deep Blue lead to Kasparov's defeat?". cnet.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 12, 2020. สืบค้นเมื่อ March 21, 2020.
- ↑ Roberts, Jacob (2016). "Thinking Machines: The Search for Artificial Intelligence". Distillations. 2 (2): 14–23. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 19, 2018. สืบค้นเมื่อ March 22, 2018.
- ↑ Silver, Nate. The Signal and the Noise: Why so Many Predictions Fail—but Some Don't. New York: Penguin, 2012. Print.
ข้อมูลหลัก[แก้]
- Pandolfini, Bruce (1997). Kasparov and Deep Blue: The Historic Chess Match Between Man and Machine. Fireside Chess Library. ISBN 9780684848525.
- "Garry Kasparov vs Deep Blue, 12 games". Chessgames.com. สืบค้นเมื่อ April 18, 2007.
อ่านเพิ่ม[แก้]
- "The official site of the matches". Deep Blue. IBM Research. สืบค้นเมื่อ April 17, 2007.
- Gardner, Martin (2001). A Gardner's Workout: Training the Mind and Entertaining the Spirit. A K Peters. pp. 91–95. ISBN 978-1-56881-120-8.
- Goodman, David; Keene, Raymond (1997). Man Versus Machine: Kasparov Versus Deep Blue. H3. ISBN 978-1888281064.
- Hsu, Feng-hsiung (2002). Behind Deep Blue: Building the Computer that Defeated the World Chess Champion. Princeton University Press. ISBN 0-691-09065-3.
- Khodarkovsky, Michael; Shamkovich, Leonoid (1997). A New Era: World Championship Chess in the Age of Deep Blue. Ballantine. ISBN 978-0345408907.
- King, Daniel (1997). Kasparov v. Deeper Blue: The Ultimate Man v. Machine Challenge. Batsford. ISBN 0-7134-8322-9.
- Newborn, Monty (1996). Kasparov versus Deep Blue: Computer Chess Comes of Age. Springer. ISBN 0-387-94820-1.