ดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ[1] (ละติน: terra nullius) เป็นศัพท์ซึ่งมีที่มาจากกฎหมายโรมัน หมายความว่า ดินแดนที่ไม่เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด หรือดินแดนไร้ผู้ครอบครอง (no mans' land)[2] ศัพท์นี้ใช้ในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง หมายความว่า ดินแดนที่ไม่เคยตกอยู่ในอำนาจอธิปไตยของรัฐใด ๆ หรือซึ่งไม่มีรัฏฐาธิปัตย์ใด ๆ เคยสละอำนาจอธิปไตยไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม

อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนที่ไม่มีเจ้าของนั้นอาจได้มาโดยการยึดครอง[3] แต่ในบางกรณี การยึดครองดินแดนเช่นนั้นอาจเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศหรือสนธิสัญญาได้

อ้างอิง[แก้]

  1. จุมพต สายสุนทร (มิถุนายน 2554). กฎหมายระหว่างประเทศ เล่ม 1 (9 ed.). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. p. 411. ISBN 9789742889579.
  2. "Definition of terra nullius- English Dictionary". Allwords.com. สืบค้นเมื่อ 15 June 2010.
  3. "New Jersey v. New York, 523 US 767 (1998)". US Supreme Court. 26 May 1998. สืบค้นเมื่อ 29 January 2010. Even as to terra nullius, like a volcanic island or territory abandoned by its former sovereign, a claimant by right as against all others has more to do than planting a flag or rearing a monument. Since the 19th century the most generous settled view has been that discovery accompanied by symbolic acts give no more than "an inchoate title, an option, as against other states, to consolidate the first steps by proceeding to effective occupation within a reasonable time.8 I. Brownlie, Principles of Public International Law 146 (4th ed.1990); see also 1 C. Hyde, International Law 329 (rev.2d ed.1945); 1 L. Oppenheim International Law §§222-223, pp. 439-441 (H. Lauterpacht 5th ed.1937); Hall A Treatise on International Law, at 102-103; 1 J. Moore, International Law 258 (1906); R. Phillimore, International Law 273 (2d ed. 1871); E. Vattel, Law of Nations, §208, p. 99 (J. Chitty 6th Am. ed. 1844).