ซิลเวอร์ไนเตรต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซิลเวอร์ไนเตรต
Structural formula of silver nitrate
Sample of silver nitrate
Crystal structure of silver nitrate
ชื่อ
IUPAC name
Silver nitrate
Systematic IUPAC name
Silver(I) nitrate
ชื่ออื่น
Nitric acid silver(1+) salt
Lapis infernalis
Argentous nitrate
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.958 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 231-853-9
RTECS number
  • VW4725000
UNII
UN number 1493
  • InChI=1S/Ag.NO3/c;2-1(3)4/q+1;-1 checkY
    Key: SQGYOTSLMSWVJD-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/Ag.NO3/c;2-1(3)4/q+1;-1
    Key: SQGYOTSLMSWVJD-UHFFFAOYAW
  • [N+](=O)([O-])[O-].[Ag+]
คุณสมบัติ
AgNO3
มวลโมเลกุล 169.872 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งไม่มีสี
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น 4.35 g/cm3 (24 °C)
3.97 g/cm3 (210 °C)[1]
จุดหลอมเหลว 209.7 องศาเซลเซียส (409.5 องศาฟาเรนไฮต์; 482.8 เคลวิน)[1][3]
จุดเดือด 440 องศาเซลเซียส (824 องศาฟาเรนไฮต์; 713 เคลวิน)
สลายตัว[1]
122 g/100 mL (0 °C)
170 g/100 mL (10 °C)
256 g/100 mL (25 °C)
373 g/100 mL (40 °C)
912 g/100 mL (100 °C)[2]
ความสามารถละลายได้ ละลายในแอซีโทน,[1] แอมโมเนีย, อีเทอร์, กลีเซอรอล
ความสามารถละลายได้ ใน กรดแอซีติก 0.776 g/kg (30 °C)
1.244 g/kg (40 °C)
5.503 g/kg (93 °C)[3]
ความสามารถละลายได้ ใน แอซีโทน 0.35 g/100 g (14 °C)
0.44 g/100 g (18 °C)[2]
ความสามารถละลายได้ ใน เบนซีน 0.22 g/kg (35 °C)
0.44 g/kg (40.5 °C)[2]
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล 3.1 g/100 g (19 °C)[2]
ความสามารถละลายได้ ใน เอทิลแอซิเตต 2.7 g/100 g (20 °C)[3]
log P 0.19
−45.7·10−6 cm3/mol
1.744
ความหนืด 3.77 cP (244 °C)
3.04 cP (275 °C)[3]
โครงสร้าง
Orthorhombic, oP56[4]
P212121, No. 19[4]
222[4]
a = 6.992(2) Å, b = 7.335(2) Å, c = 10.125(2) Å[4]
α = 90°, β = 90°, γ = 90°
อุณหเคมี
93.1 J/mol·K[1]
Std molar
entropy
(S298)
140.9 J/mol·K[1]
−124.4 kJ/mol[1]
−33.4 kJ/mol[1]
เภสัชวิทยา
D08AL01 (WHO)
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ระเบิดเมื่อทำปฏิกิริยากับเอทานอล, เป็นพิษ, มีฤทธิ์กัดกร่อน
GHS labelling:
GHS03: OxidizingThe corrosion pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The environment pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)[5]
อันตราย
H272, H314, H410[5]
P220, P273, P280, P305+P351+P338, P310, P501[5]
NFPA 704 (fire diamond)
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
800 mg/kg (กระต่าย, ทางปาก)
20 mg/kg (สุนัข, ทางปาก)[6]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ซิลเวอร์ไนเตรต (อังกฤษ: silver nitrate) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ AgNO3 ลักษณะเป็นผลึกของแข็งไม่มีสีถึงขาว ไม่มีกลิ่น เป็นสารตั้งต้นของสารประกอบเงินหลายชนิด ซิลเวอร์ไนเตรตใช้ในงานหลายประเภท เช่น ทางการแพทย์ งานถ่ายภาพ การย้อมสี การเคลือบเงินและการทำกระจก[7]

ในศตวรรษที่ 13 อัลแบร์ตุส มาญุสเคยบันทึกว่ากรดไนตริกสามารถละลายธาตุเงิน[8] และสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทำให้ผิวดำได้ ครั้งหนึ่งนักเล่นแร่แปรธาตุเคยเรียกซิลเวอร์ไนเตรตว่า lunar caustic เพราะเชื่อว่าธาตุเงินเกี่ยวข้องกับดวงจันทร์[9] (lunar ในภาษาละตินแปลว่า ดวงจันทร์)

ซิลเวอร์ไนเตรตเตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างธาตุเงินกับกรดไนตริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิลเวอร์ไนเตรต น้ำและออกไซด์ของไนโตรเจนตามสมการ:

3 Ag + 4 HNO3 (เย็นและเจือจาง) → 3 AgNO3 + 2 H2O + NO
Ag + 2 HNO3 (ร้อนและเข้มข้น) → AgNO3 + H2O + NO2

ปฏิกิริยาดังกล่าวต้องทำในตู้ดูดควันเนื่องจากไนโตรเจนไดออกไซด์เป็นก๊าซพิษ[10][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้]

ซิลเวอร์ไนเตรตเป็นตัวออกซิไดซ์ จึงควรเก็บแยกกับสารอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กัดกร่อนและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม[11] หากร่างกายได้รับสารประกอบเงินอาจก่อให้เกิดภาวะอาร์จีเรีย (argyria) ซึ่งจะทำให้สีผิวเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสีน้ำเงินหรือน้ำเงินเทา[12]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 Lide, David R., บ.ก. (2009). CRC Handbook of Chemistry and Physics (90th ed.). Boca Raton, Florida: CRC Press. ISBN 978-1-4200-9084-0.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Seidell, Atherton; Linke, William F. (1919). Solubilities of Inorganic and Organic Compounds (2nd ed.). New York City: D. Van Nostrand Company. pp. 617–619.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Kiper, Ruslan Anatolievich. "silver nitrate". Chemister.ru. สืบค้นเมื่อ 2014-07-20.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Meyer, P.; Rimsky, A.; Chevalier, R. (1978). "Structure du nitrate d'argent à pression et température ordinaires. Exemple de cristal parfait". Acta Crystallogr. B. 34 (5): 1457–1462. doi:10.1107/S0567740878005907.
  5. 5.0 5.1 5.2 Sigma-Aldrich Co., Silver nitrate. Retrieved on 2014-07-20.
  6. "Silver (metal dust and soluble compounds, as Ag)". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  7. "Silver nitrate - Hazardous Substance Fact Sheet" (PDF). NJ Department of Health. สืบค้นเมื่อ January 25, 2017.
  8. Szabadváry, Ferenc (1992). History of analytical chemistry. Taylor & Francis. p. 17. ISBN 2-88124-569-2.
  9. "Definition of Lunar Caustic". dictionary.die.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-31. สืบค้นเมื่อ 2017-01-25.
  10. "Making silver nitrate". youtube.com. YouTube.
  11. "Silver nitrate - MSDS" (PDF). LabChem. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-27. สืบค้นเมื่อ January 25, 2017.
  12. "Silver nitrate - NIOSH". Centers for Disease Control and Prevention. สืบค้นเมื่อ January 25, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]