ซินท์เวฟ
ซินท์เวฟ | |
---|---|
ชื่ออื่น |
|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | กลางถึงปลายคริสต์ทศวรรษ 2000[3][4] ฝรั่งเศส, ยุโรปตะวันตก |
แนวย่อย | |
หัวข้ออื่น ๆ | |
ซินท์เวฟ (อังกฤษ: synthwave เรียกอีกอย่างว่า outrun, retrowave หรือ futuresynth[4]) เป็นแนวย่อยดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่อิงจากเพลงประกอบภาพยนตร์แนวโลดโผน นิยายวิทยาศาสตร์โลดโผน และสยองขวัญของยุคคริสต์ศตวรรษ 1980 เป็นหลัก อิทธิพลอื่น ๆ ได้รับมาจากงานศิลปะและวิดีโอเกมในทศวรรษนี้[2] นักดนตรีแนวซินท์เวฟมักรับหลักการด้านการโหยหาอดีตในวัฒนธรรมในยุคคริสต์ทศวรรษ 1980 และพยายามถ่ายทอดบรรยากาศของยุคนั้นและเฉลิมฉลอง[7]
แนวเพลงนี้ได้รับการพัฒนาในช่วงกลางจนถึงปลายคริสต์ทศวรรษ 2000 โดยโปรดิวเซอร์ เฟรนซ์เฮาส์ชาวฝรั่งเศส รวมไปถึงศิลปินรุ่นใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวิดีโอเกม แกรนด์เธฟต์ออโต: ไวซ์ซิตี ที่ออกในปี 2002 ยังอ้างอิงนักประพันธ์เพลง จอห์น คาร์เพนเตอร์, ฌ็อง มีแชล ฌาร์, แวนเจลิส (โดยเฉพาะดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง เบลดรันเนอร์ ในปี 1982) ซินท์เวฟได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมากขึ้นหลังจากที่นำไปใช้เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง Drive ในปี 2011 (ซึ่งมีเพลงประกอบที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของแนวเพลงนี้บางเพลง) วิดีโอเกม Hotline Miami ในปี 2012 รวมถึง ภาคต่อในปี 2015 ภาพยนตร์ ธอร์: ศึกอวสานเทพเจ้า ในปี 2017 และซีรีส์เน็ตฟลิกซ์ เรื่อง สเตรนเจอร์ ธิงส์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Hunt, Jon (9 April 2014). "We Will Rock You: Welcome To The Future. This is Synthwave". l'etoile. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2017. สืบค้นเมื่อ 18 May 2015.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Neuman, Julia (23 June 2015). "A Retrowave Primer: 9 Artists Bringing Back the '80s". MTV Iggy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2015. สืบค้นเมื่อ 23 June 2015.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อCram2019
- ↑ 4.0 4.1 4.2 Neuman, Julia (30 July 2015). "The Nostalgic Allure of 'Synthwave'". New York Observer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2016. สืบค้นเมื่อ 16 May 2016.
- ↑ "25 Favourite Italo Disco Tracks". electricityclub.co.uk. 12 May 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 November 2021. สืบค้นเมื่อ 16 January 2022.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 Young, Bryan (25 March 2015). "Synthwave: If Tron and Megaman had a music baby". Glitchslap.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2019. สืบค้นเมื่อ 19 May 2015.
- ↑ Calvert, John (13 October 2011). "Xeno and Oaklander - Sets & Lights". Drowned in Sound. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2015. สืบค้นเมื่อ 8 June 2015.