ช่วงอายุนอร์ทกริปเปียน
หน้าตา
ช่วงอายุนอร์ทกริปเปียน | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
0.0082 – 0.0042 ล้านปีก่อน | |||||||||||||||
วิทยาการลำดับเวลา | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
นิรุกติศาสตร์ | |||||||||||||||
ความเป็นทางการของชื่อ | ทางการ | ||||||||||||||
อนุมัติชื่อ | 14 มิถุนายน 2561[1][2] | ||||||||||||||
ข้อมูลการใช้ | |||||||||||||||
เทห์วัตถุ | โลก | ||||||||||||||
การใช้ระดับภาค | ทั่วโลก (ICS) | ||||||||||||||
การใช้ช่วงเวลา | ธรณีกาลของ ICS | ||||||||||||||
การนิยาม | |||||||||||||||
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา | ช่วงอายุ | ||||||||||||||
หน่วยลำดับชั้นหิน | หินช่วงอายุ | ||||||||||||||
ความเป็นทางการของช่วงกาล | ทางการ | ||||||||||||||
คำนิยามขอบล่าง | เหตุการณ์ 8.2 พันปี | ||||||||||||||
ขอบล่าง GSSP | แกนน้ำแข็งของ NGRIP1 กรีนแลนด์ 75°06′00″N 42°19′12″W / 75.1000°N 42.3200°W | ||||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 14 มิถุนายน 2561[1] | ||||||||||||||
คำนิยามขอบบน | เหตุการณ์ 4.2 พันปี | ||||||||||||||
ขอบบน GSSP | ถ้ำ Mawmluh รัฐเมฆาลัย ประเทศอินเดีย 25°15′44″N 91°42′54″E / 25.2622°N 91.7150°E | ||||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 14 มิถุนายน 2561[1] |
ในธรณีกาล ช่วงอายุนอร์ทกริปเปียน (อังกฤษ: Northgrippian age) คือช่วงอายุหรือหินช่วงอายุหนึ่งที่อยู่ตอนกลางของสมัยหรือหินสมัยโฮโลซีน[3][4][5][6] ได้รับการอนุมัติอย่างเป็นทางการโดยคณะกรรมมาธิการการลำดับชั้นหินสากลในเดือนมิถุนายน 2561 พร้อมด้วยช่วงอายุ/หินช่วงอายุกรีนแลนด์เดียนและเมฆาลายัน ช่วงอายุนี้ได้รับชื่อมาจากโครงการแกนน้ำแข็งกรีนแลนด์เหนือ (North Greenland Ice Core Project หรือ NorthGRIP)[4] ช่วงอายุนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ 8,236 ปีก่อนปี 2000 (ปี 6236 ก่อนสากลศักราช (BCE) หรือปี 3764 ตามปฏิทินโฮโลซีน (HE)) ใกล้กับเหตุการณ์ 8.2 พันปี และสิ้นสุดลงเมื่อช่วงอายุเมฆาลายันเริ่มต้นขึ้นเมื่อ 4,200 ปีก่อนปี 1950 (ปี 2250 ก่อนสากลศักราช (BCE) หรือปี 7750 ตามปฏิทินโฮโลซีน (HE)) ใกล้กับเหตุการณ์ 4.2 พันปี[7]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Walker, Mike; Head, Martin J.; Berkelhammer, Max; Björck, Svante; Cheng, Hai; Cwynar, Les; Fisher, David; Gkinis, Vasilios; Long, Anthony; Lowe, John; Newnham, Rewi; Rasmussen, Sune Olander; Weiss, Harvey (1 December 2018). "Formal ratification of the subdivision of the Holocene Series/ Epoch (Quaternary System/Period): two new Global Boundary Stratotype Sections and Points (GSSPs) and three new stages/subseries" (PDF). Episodes. Subcommission on Quaternary Stratigraphy (SQS). 41 (4): 213–223. doi:10.18814/epiiugs/2018/018016. สืบค้นเมื่อ 28 August 2020. This proposal on behalf of the SQS has been approved by the International Commission on Stratigraphy (ICS) and formally ratified by the Executive Committee of the International Union of Geological Sciences (IUGS).
- ↑ Head, Martin J. (17 May 2019). "Formal subdivision of the Quaternary System/Period: Present status and future directions". Quaternary International. 500: 32–51. doi:10.1016/j.quaint.2019.05.018. สืบค้นเมื่อ 26 December 2020.
- ↑ Cohen, K. M.; Finney, S. C.; Gibbard, P. L.; Fan, J-X. (January 2020). "International Chronostratigraphic Chart" (PDF). International Commission on Stratigraphy. สืบค้นเมื่อ 8 January 2021.
- ↑ 4.0 4.1 International Commission on Stratigraphy. "ICS chart containing the Quaternary and Cambrian GSSPs and new stages (v 2018/07) is now released!". สืบค้นเมื่อ 19 July 2018.
- ↑ Radha-Udayakumar, Ganesh (19 July 2018). "Scientists call our era the Meghalayan Age. Here's what the world was like when it began". India Today. New Delhi: Living Media India Limited. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ Scroll Staff. "'Meghalayan Age': Latest phase in Earth's history named after Indian state, began 4,200 years ago". Scroll.in.
- ↑ Amos, Jonathan (18 July 2018). "Welcome to the Meghalayan Age – a new phase in history". BBC News. สืบค้นเมื่อ 19 July 2018.