ชาวสลาฟตะวันออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชาวสลาฟตะวันออก
Усходнія славяне Uskhodniya slavianie (เบลารุส)
Восточные славяне Vostochnyye slavianie (รัสเซีย)
Восточны славяне Vostochny slavianie (รูซึน)
Східні слов'яни Skhidni slovyany (ยูเครน)
  ประเทศที่มีประชากรชาวสลาฟตะวันออกอย่างมีนัยสำคัญ
ประชากรทั้งหมด
มากกว่า 200 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ส่วนใหญ่:
เบลารุส, รัสเซีย, ยูเครน
ส่วนน้อย: ทะเลบอลติก (เอสโตเนีย, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย), เซอร์เบีย, คอเคซัส (อาเซอร์ไบจาน, จอร์เจีย), มอลโดวา, อดีตรัฐของสหภาพโซเวียต
ภาษา
กลุ่มภาษาสลาวิกตะวันออก:
ภาษาเบลารุส, ภาษารัสเซีย, ภาษารูซึน, ภาษายูเครน
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวสลาฟ

ชาวสลาฟตะวันออก (อังกฤษ: East Slavs) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวสลาฟที่พูดภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันออก ประชากรส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่เคยเป็นดินแดนของจักรวรรดิเคียฟรุสเมื่อสมัยกลาง[1] ซึ่งต่อมาแตกกลุ่มออกเป็นชาวเบลารุส ชาวรัสเซีย ชาวรูซึน และชาวยูเครนเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17[2]

กลุ่มชาติพันธุ์หลักและกลุ่มชาติพันธุ์ย่อยในปัจจุบัน[แก้]

  • กลุ่มชาติพันธุ์เฉพาะกาล
    • คอสแซค (รัสเซีย-เบลารุส)
    • Goryuns (รัสเซีย-ยูเครน-เบลารุส)
    • Poleshuks (เบลารุส-ยูเครน)

อ้างอิง[แก้]

  1. John Channon & Robert Hudson, Penguin Historical Atlas of Russia (Penguin, 1995), p.16.
  2. "Slav | History & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-01-05.