ข้ามไปเนื้อหา

ชาวมายา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มายา
ธงของชาวมายา
สตรีชาวมายาในกัวเตมาลาสวมใส่ชุดดั้งเดิม
ประชากรทั้งหมด
ป. มากกว่า 11 ล้านคน' (2022)
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
บางส่วนของพื้นที่ในปัจจุบันอย่าง กัวเตมาลา, เม็กซิโก, สหรัฐ, เบลีซ, ฮอนดูรัส และเอลซัลวาดอร์
 กัวเตมาลา7,140,503 (2018)[1]
 เม็กซิโก3,803,508 (2022)[2]
 สหรัฐ500,000 (2011)[3][4]
 เบลีซ30,107 (2010)[5][6]
 เอลซัลวาดอร์11,000
 ฮอนดูรัส33,256 (2013)[7]
ภาษา
ตระกูลภาษามายา, ภาษาอังกฤษ, ภาษาสเปน และคริออล
ศาสนา
ศาสนาคริสต์และศาสนามายา

ชาวมายา (Maya) เป็นกลุ่มภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ของชนเผ่าพื้นเมืองในมีโซอเมริกา อารยธรรมมายาโบราณก่อตัวขึ้นโดยกลุ่มคนเหล่านี้ และชาวมายาในปัจจุบันโดยทั่วไปจะสืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อาศัยอยู่ภายในภูมิภาคประวัติศาสตร์ดังกล่าว ปัจจุบันพวกเขาอาศัยอยู่ในตอนใต้ของประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา เบลีซ และทางตะวันตกสุดของเอลซัลวาดอร์และ ฮอนดูรัส

"ชาวมายา" เป็นคำสมัยใหม่ที่ใช้เรียกผู้คนในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ตาม ในอดีตกลุ่มชนพื้นเมืองไม่ได้ใช้คำนี้กัน ไม่มีความรู้สึกร่วมกันเกี่ยวกับอัตลักษณ์หรือความสามัคคีทางการเมืองระหว่างประชากร สังคม และกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละกลุ่มต่างก็มีประเพณี วัฒนธรรม และอัตลักษณ์ทางประวัติศาสตร์เฉพาะของตนเอง[8]

มีการประมาณกันว่าชาวมายาประมาณเจ็ดล้านคนอาศัยอยู่ในพื้นที่นี้เมื่อต้นศตวรรษที่ 21[9][10] กัวเตมาลา ตอนใต้ของเม็กซิโก และ คาบสมุทรยูกาตัน เบลีซ เอลซัลวาดอร์ และ ฮอนดูรัสตะวันตก พื้นที่เหล่านี้สามารถรักษามรดกทางวัฒนธรรมโบราณอันหลงเหลืออยู่มากมายเอาไว้ได้

อ้างอิง

[แก้]
  1. Resultados Del Censo 2018
  2. "Consejo Nacional de Población (CONAPO)" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2024-12-05.
  3. "Living Across Borders: Guatemala Maya Immigrants in the US South".
  4. "Maya in the US – the Maya Heritage Community Project (By Alan LeBaron, PHD)". July 2018.
  5. UN Demographic Yearbooks
  6. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-08-12. สืบค้นเมื่อ 2012-06-07.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  7. "Honduras - World Directory of Minorities & Indigenous Peoples". Minority Rights Group (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2015-06-19. สืบค้นเมื่อ 2022-10-20.
  8. Restall, Matthew; Asselbergs, Florine (2007). Invading Guatemala : Spanish, Nahua, and Maya Accounts of the Conquest Wars. Pennsylvania State University Press. p. 4. ISBN 9780271027586. We call this civilization "Maya", although the term would not have meant anything to the Mayas in Guatemala (it was a Yucatec Maya word) and there was never a common sense of identity or political unity among all the various groups we call Maya.
  9. Lorenzo Ochoa; Patricia Martel(dir.) (2002). Lengua y cultura mayas (ภาษาสเปน). UNAM. p. 170. ISBN 9703200893. El "Pueblo Maya" lo constituyen actualmente algo menos de 6 millones de hablantes de 25 idiomas
  10. Nations, James D. (1 January 2010). The Maya Tropical Forest: People, Parks, and Ancient Cities. University of Texas Press. ISBN 978-0-292-77877-1.