ฉบับร่าง:อาณาจักรจำบากนาคบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นครกาลจำบากนาคบุรีศรี
พ.ศ. 2114–พ.ศ. 2256
เมืองหลวงจำบากนาคบุรี
ภาษาทั่วไปภาษาระแด ภาษาลาว ภาษากูย
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
กษัตริย์และเจ้าผู้ครองนคร 
• ประมาณพ.ศ. 2114 - ?
พระเจ้าสุทัศนราชา
• 
นางแพง
• 
พระครูโพนเสม็ด (ญาคูขี้หอม)
ประวัติศาสตร์ 
• แยกตัว
พ.ศ. 2114
• สิ้นสุด
พ.ศ. 2256
ก่อนหน้า
ถัดไป
ระแด
อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ลาว
 ไทย
 กัมพูชา

นครกาลจำบากนาคบุรีศรี หรือ จำบากนาคบุรี เป็นอาณาจักรที่อยู่ทางใต้ของลาวจนไปถึงเขตทางเหนือของกำพูชา ดำรงอยู่ในช่วงเวลาประมาณ พ.ศ. 2114 ถึง พ.ศ. 2256 ซึ่งแยกตัวออกมาจากอาณาจักรล้านช้าง และถูกสถาปนาแทนที่ด้วย อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ ในปี พ.ศ.2256

ประวัติศาสตร์[แก้]

ภูมิหลัง[แก้]

พื้นที่บริเวณแขวงจำปาศักดิ์ประกอบด้วยชาติพันธุ์ กูย และ จาม โดยชาติพันธุ์หลักคือ ระแด จาราย ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาจาม โดยไทยและลาวเรียกว่า ข่าระแด

เมืองระแดหรือแรวแดวนั้นจะต้องส่งส่วยเรียกว่า ส่งส่วยสองฝ่ายฟ้า แก่เมืองที่มีอำนาจเหนือกว่าคือ อาณาจักรอยุธยา และ อาณาจักรล้านช้าง [1][2]

เหตุการณ์[แก้]

แยกตัว[แก้]

หลังสมัยของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช ได้ประกาศเอกราชและตั้งเมืองชื่อ จำบากนาคบุรี โดยมีพระเจ้าสุทัศนราชาเป็นกษัตริย์พระองค์แรก และสืบเชือสายปกครองต่อมาจนถึงสมัยนางแพง

ก่อตั้ง[แก้]

ช่วยรบกับเขมร[แก้]

นางเภานางแพง[แก้]

พระครูโพนเสม็ด[แก้]

สิ้นสุด[แก้]

รายพระนามพระมหากษัตริย์[แก้]

ลำดับ พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
1 ไม่ปรากฎพระนาม ประมาณ พ.ศ.2114 - ? ทรงสร้างเมืองนครกาลจำปากนาคบุรีศรีบริเวณพื้นที่เดิมของเมืองเศรษฐปุระ
2 พระเจ้าสุทัศนราชา ? - พ.ศ.2170[3] พระราชโอรสของรัชกาลก่อน
3 ไม่ปรากฎพระนาม พ.ศ. 2181 - พ.ศ. 2186 ถูกแต่งตั้งขึ้นมาเนื่องจากรัชกาลก่อนไม่มีรัชทายาท
4 นางเภา ประมาณ พ.ศ. 2186 - ? พระราชธิดารัชกาลก่อน
5 นางแพง ? พระราชธิดารัชกาลก่อน
6 พระครูโพนเสม็ด ? - พ.ศ. 2256 ยกราชสมบัติให้จากรัชกาลก่อน

อ้างอิง[แก้]

  1. มติชนสุดสัปดาห์ (2021-05-23). "สุจิตต์ วงษ์เทศ : 'จาม' เมืองเรอแดว อยู่โขง, ชี, มูล แหล่งทรัพยากรรัฐอยุธยา". มติชนสุดสัปดาห์.
  2. กรมศิลปากร (1962-10-15). กฎหมายตราสามดวงเล่ม1 กฎมณเฑียรบาล หน้า71. โรงพิมพ์คุรุสภา [1]
  3. พระยามหาอำมาตยาธิบดี. "พงศาวดารนครจำปาศักดิ์ ฉะบับพระยามหาอำมาตยาธิบดี - วิกิซอร์ซ". th.wikisource.org.