ฉบับร่าง:หม่อมเจ้าปฏิพัทธ์เกษมศรี เกษมศรี
ฉบับร่างนี้ถูกตีกลับ เมื่อ 16 เมษายน 2566 โดย Lookruk (คุย) เนื้อหาของฉบับร่างที่ส่งมาไม่มีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุนอย่างเพียงพอ แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือจำเป็นต่อการพิสูจน์ยืนยันได้ของเนื้อหา หากคุณต้องการความช่วยเหลือสำหรับการอ้างอิง โปรดดูที่ การอ้างอิงสำหรับผู้เริ่มต้น และ วิกิพีเดีย:การอ้างอิงแหล่งที่มา
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
|
ความคิดเห็น: อ้างอิงมีแต่ราชกิจจานุเบกษา และเขียนให้เป็นสารานุกรมด้วย --Lookruk 💬 (พูดคุย) 14:02, 16 เมษายน 2566 (+07)
![]() | นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Lookruk (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 52 วันก่อน (ล้างแคช) |
จางวางตรี หม่อมเจ้าปฏิพัทธ์เกษมศรี เกษมศรี (มีนาคม 2415 - 27 พฤศจิกายน 2467[1]) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 อดีตปลัด มณฑลภูเก็ต
หม่อมเจ้าปฏิพัทธ์เกษมศรี ประสูติเมื่อเดือนมีนาคม ปี พ.ศ. 2415 เป็นโอรสองค์ใหญ่ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ และเป็นองค์แรกใน หม่อมเพิ่ม เกษมศรี ณ อยุธยา
รับราชการ ตำแหน่ง และ พระยศ[แก้]
- - ปลัดเทศาภิบาล มณฑลปราจิณบุรี
- 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2444 - รั้งตำแหน่งผู้ว่าราชการเมืองชลบุรี[2]
- 28 ตุลาคม พ.ศ. 2444 - กลับมารับราชการในตำแหน่งปลัดเทศาภิบาลมณฑลปราจิณบุรี[3]
- 31 มกราคม พ.ศ. 2447 - ผู้ว่าราชการเมืองชลบุรี[4]
- 16 เมษายน พ.ศ. 2451 - กราบถวายบังคมลาไปรับราชการ[5]
- 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2451 - ปลัด มณฑลภูเก็ต[6]
- 20 สิงหาคม พ.ศ. 2454 - อำมาตย์เอก[7]
- 14 เมษายน พ.ศ. 2456 - มหาอำมาตย์ตรี[8]
- 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 - องคมนตรี[9]
- 17 กันยายน พ.ศ. 2458 - สมุหเทศาภิบาล มณฑลจันทบุรี[10]
- 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - จางวางตรี[11]
- 24 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - สมุหเทศาภิบาล มณฑลราชบุรี[12]
- 14 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - หยุดพักราชการ[13]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2456 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[14]
- พ.ศ. 2458 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)[15]
- พ.ศ. 2454 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)[16]
- พ.ศ. 2458 –
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.3)[17]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ข่าวสิ้นชีพิตักษัย
- ↑ แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
- ↑ แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
- ↑ แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
- ↑ หม่อมเจ้ากราบถวายบังคมลา
- ↑ แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
- ↑ ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานยศ แก่ข้าราชการกระทรวงมหาดไทย (หน้า ๙๗๔)
- ↑ พระราชทานยศ
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรตั้งองคมนตรี
- ↑ แจ้งความกระทรวงมหาดไทย ย้ายแลตั้งตำแหน่งสมุหเทศาภิบาล
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศเปลี่ยนยศอุปราช แลสมุหเทศาภิบาล
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศย้ายตำแหน่งสมุหเทศาภิบาล
- ↑ ประกาศกระแสพระบรมราชโองการ
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๖๖, ๓๐ พฤศจิกายน ๒๔๕๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๘๗๗, ๒๕ กรกฎาคม ๒๔๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๒๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๙๕, ๑๐ ธันวาคม ๑๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลปัจจุบัน, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๙๑๘, ๑ สิงหาคม ๒๔๕๘