ฉบับร่าง:หม่อมราชวงศ์ศิริพงษ์ ทองใหญ่
หน้าตา
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Sry85 (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 2 เดือนก่อน (ล้างแคช) |
หม่อมราชวงศ์ ศิริพงษ์ ทองใหญ่ | |
---|---|
ผู้บัญชาการทหารอากาศ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2539 | |
ก่อนหน้า | พล.อ.อ.กันต์ พิมานทิพย์ |
ถัดไป | พล.อ.อ.อมร แนวมาลี |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | คุณหญิงจิตตระการ ทองใหญ่ |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | กองทัพอากาศไทย |
ยศ | พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก[1] |
บังคับบัญชา | ผู้บัญชาการทหารอากาศ กองทัพไทย |
พลอากาศเอก หม่อมราชวงศ์ ศิริพงษ์ ทองใหญ่ (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 -) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารอากาศของประเทศไทย
ประวัติ
[แก้]พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ์ ทองใหญ๋ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นโอรสของหม่อมเจ้าทองประทาศรี ทองใหญ่ กับหม่อมราชวงศ์วลี ทองใหญ่ (ราชสกุลเดิม รองทรง) สมรสกับคุณหญิงจิตตระการ ทองใหญ่มีบุตร-ธิดาด้วยกัน 2 คน คือหม่อมหลวงสวรรณสิริ และหม่อมหลวงปีกทอง ทองใหญ่
การศึกษา
[แก้]การทำงาน
[แก้]เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2539 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2537 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[3]
- พ.ศ. 2540 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 3 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.)[4]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญชัยสมรภูมิ การร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี (ช.ส.)[5]
- พ.ศ. 2539 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[6]
- พ.ศ. 2515 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[7]
- พ.ศ. 2554 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 7 เหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ์ (ร.ง.ภ.)[8]
- พ.ศ. 2515 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[9]
- พ.ศ. 2539 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ได้รับพระราชทานยศ
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2014-04-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๓, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2007-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๖, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๑๑ ข หน้า ๓, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๕๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๗, ๑ มิถุนายน ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๕ ข หน้า ๑๗, ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๕๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๖, ๒๙ มีนาคม ๒๕๑๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๕๔, เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๕, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๒๐๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๔๘, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๑๒ ข หน้า ๖๓, ๒๑ มิถุนายน ๒๕๓๙
หมวดหมู่:
- บทความฉบับร่าง
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2478
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- ทหารอากาศชาวไทย
- ผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
- บุคคลจากโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช
- สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง
- กรรมการกฤษฎีกาไทย
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.จ.ว.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา