ฉบับร่าง:รายชื่อนักฟุตบอลที่ยิงประตู 500 ลูกขึ้นไป

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    คริสเตียโน่ โรนัลโด้ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้ทำประตูสูงสุดตลอดกาล

    รายชื่อนักฟุตบอลที่ยิงประตู 500 ลูกขึ้นไป (อังกฤษ: List of footballers with 500 or more goals) ในการแข่งขันฟุตบอลระดับสูงสุด มีผู้เล่น 23 คนทำประตูได้ 500 ประตูหรือมากกว่านั้นตลอดอาชีพการแข่งขันทั้งในระดับสโมสรและฟุตบอลระหว่างประเทศ จากการสำรวจของสหพันธ์ประวัติศาสตร์และสถิติฟุตบอลนานาชาติ (IFFHS)[1] เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 2007[2] เมื่อพิจารณาถึงการแข่งขันในทุกระดับ มีผู้เล่น 72 คนทำได้สำเร็จตามการสำรวจของมูลนิธิสถิติฟุตบอล (RSSSF)[3] ซึ่งเป้นองค์กรที่อธิบายโดยหนังสือพิมพ์เยอรมันชื่อ แดร์ สปีเกล ว่าเป็น "วิกิพีเดียสถิติฟุตบอล"[4] อิมเร ชลอสเซอร์ ชาวฮังการีเป็นคนแรกที่ทำได้ถึง 500 ประตู ในปี ค.ศ. 1927 ก่อนที่เขาจะเกษียณไม่นาน[5] มีผู้เล่น 8 คนประสบความสำเร็จในสโมสรเดียว ได้แก่ โจเซฟ บิคาน (สลาเวีย ปราก), จิมมี่ โจนส์ (เกลนาวอน), จิมมี่ แม็คกรอรี (เซลติก), ลิโอเนล เมสซี่ (บาร์เซโลน่า), แกร์ด มุลเลอร์ (บาเยิร์น มิวนิค), เปเล่ (ซานโตส ), เฟร์นานโด เปย์โรเตโอ (สปอร์ติ้ง ซีพี) และ อูเว่ ซีเลอร์ (ฮัมบูร์ก)[6] ในแปดคนนี้ เมสซีทำประตูได้มากที่สุด โดยมี 672 ประตูตั้งแต่เปิดตัวในปี ค.ศ. 2004 และออกจากสโมสรในปี ค.ศ. 2021[7]

    นักฟุตบอลที่ยิงประตู 500 ลูกขึ้นไป[แก้]

    จากข้อมูลของสหพันธ์ประวัติศาสตร์และสถิติฟุตบอลนานาชาติและสื่ออื่น ๆ มีผู้เล่น 23 คนได้รับการรับรองจากการทำประตู 500 ประตูขึ้นไปในการแข่งขันฟุตบอลระดับสูงสุด:

    ณ วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 2023[1]
    ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นที่กำลังแข่งขันอยู่
    * หมายถึง ผู้เล่นทำประตูให้สโมสรเดียวอย่างน้อย 500 ประตู[8]
    อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประเทศและอื่น ๆ รวม ช่วงอาชีพ (ค.ศ.)
    ลีก ถ้วย คอนติเนนตัล
    1 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด 507[a] 51 152 120 830[9] 2002–ปัจจุบัน
    2 อาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ* 493[b] 71 137 99 800[10] 2003–ปัจจุบัน
    3 บราซิล เปเล่* 604[c] 49 26 83 762 1957–1977
    4 บราซิล โรมารีอู 544[d] 93 54 64 755 1985–2007
    5 ฮังการี สเปน แฟแร็นตส์ ปุชกาช 514[e] 76 55 84 729 1943–1966
    6 ออสเตรีย เชโกสโลวาเกีย โจเซฟ บิแคน* 518[f] 129 41 32 720 1931–1955
    7 ไอร์แลนด์เหนือ จิมมี่ โจนส์* 332[g] 301 2 12 647 1947–1964
    8 เยอรมนีตะวันตก แกร์ท มึลเลอร์* 405[h] 92 69 68 634 1964–1981
    9 โปรตุเกส เอวแซบียู 422[i] 97 59 41 619 1957–1978
    10 ไอร์แลนด์ โจ แบมบริค 348[j] 247 0 21 616 1926–1943
    11 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี 360[k] 49 102 78 589[11] 2008–ปัจจุบัน
    12 ไอร์แลนด์เหนือ เกล็น เฟอร์กูสัน 313[l] 242 6 0 561 1987–2011
    13 สวีเดน ซลาตัน อิบราฮีมอวิช 394[m] 46 57 62 559[12] 1999–ปัจจุบัน
    14 โปรตุเกส เฟร์นันโด เปย์โรเตโอ* 464[n] 72 3 14 553 1937–1949
    15 สกอตแลนด์ จิมมี่ แมคกรอรี่* 409[o] 131 0 12 552 1922–1937
    16 เยอรมนีตะวันตก อูเว่ ซีเลอร์* 446[p] 41 21 43 551 1954–1978
    17 อุรุกวัย ลุยส์ ซัวเรซ 357 44 61 68 530 2005 ปัจจุบัน
    18 อาร์เจนตินา สเปน อัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโน 376[q] 55 70 29 530 1945–1966
    19 ฮังการี เจอร์กี ซาโรซี 351[r] 31 102 42 526 1930–1948
    20 บราซิล โรแบร์โต ไดนาไมต์ 476[s] 8 5 22 511 1971–1992
    21 เม็กซิโก ฮูโก้ ซานเชซ 390[t] 49 38 30 507 1976–1997
    22 ฮังการี อิมเรอ ชลอสเซอร์ 417[u] 18 10 59 504 1905–1928
    23 ออสเตรีย ฟรานซ์ บินเดอร์ 296[v] 93 87 26 502 1930–1949

    สถิติของ RSSSF[แก้]

    เนื่องจากมูลนิธิสถิติฟุตบอล (RSSSF) ใช้วิธีการที่แตกต่างจากสหพันธ์ประวัติศาสตร์และสถิติฟุตบอลนานาชาติ (IFFHS) และสื่ออื่น ๆ เพื่อการตัดสินประตูรวม[13] ผู้เล่น 72 คนได้รับการรับรองว่ายิงได้ 500 ประตูขึ้นไป ในการแข่งขันทุกระดับ:

    ณ วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 2023[3]
    ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นที่กำลังแข่งขันอยู่
    + หมายถึง จำนวนประตูขั้นต่ำ - ผู้เล่นอาจทำประตูได้มากกว่า
    อันดับ ผู้เล่น ประตู นัด อัตราส่วน ช่วงอาชีพ (ค.ศ.)
    1 เยอรมนีตะวันตก เออร์วิน เฮล์มเชน 987 577 1.71 1924–1951
    2 ออสเตรีย เชโกสโลวาเกีย โจเซฟ บิคาน 950 624 1.52 1930–1957
    3 อังกฤษ รอนนี รู้ค 931 1029 0.9 1929–1961
    4 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด 848 1192 0.71 2001 ปัจจุบัน
    5 ไอร์แลนด์เหนือ จิมมี่ โจนส์ 840 756 1.11 1944–1965
    6 อาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ 827 1072 0.77 2003–ปัจจุบัน
    7 ฮังการี สเปน เฟเรนซ์ ปุสกัส 806 793 1.02 1943–1967
    8 ฮังการี เฟเรนซ์ เดอัก 795 511 1.56 1939–1959
    9 บราซิล โรมารีอู 784 1002 0.78 1984–2009
    10 เนเธอร์แลนด์ อาเบะ เลนสตรา 783 843 0.93 1936–1964
    11 บราซิล เปเล่ 778 846 0.92 1956–1977
    12 อังกฤษ ทอมมี่ ลอว์ตัน 743 827 0.9 1935–1957
    13 เยอรมนีตะวันตก แกร์ท มึลเลอร์ 735 793 0.93 1963–1981
    14 ไอร์แลนด์เหนือ แซมมี่ ฮิวจ์ส 722 748 0.97 1943–1963
    15 ไอร์แลนด์เหนือ โจ แบมบริค 690 578 1.19 1925–1943
    16 โปแลนด์ เยอรมนี เอิร์นส์ วิลิโมวสกี้ 683 484 1.41 1932–1957
    17 อังกฤษ ทอม วาริง 670 654 1.02 1924–1948
    18 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี 643 920 0.7 2004–ปัจจุบัน
    19 ฮังการี เฟเรนซ์ เบเน 632 955 0.66 1959–1985
    20 โปรตุเกส เอวแซบียู 625 654 0.96 1961–1978
    21 อังกฤษ โจ สมิธ 616 903 0.68 1908–1931
    22 ฮังการี กีลา เซงเกลเลร์ 611 642 0.95 1931–1953
    23 ไอร์แลนด์เหนือ บอย มาร์ติน 611 527 1.16 1930–1947
    24 ไอร์แลนด์เหนือ เฟรดเดอริก โรเบิร์ต 608 468 1.3 1922–1937
    25 อังกฤษ สแตน มอร์เตนเซ่น 606 810 0.75 1938–1962
    26 โปรตุเกส เฟร์นานโด เปย์โรเตโอ 598 369 1.62 1937–1949
    27 อังกฤษ จิมมี่ กรีฟส์ 590 842 0.7 1956–1980
    28 เยอรมนีตะวันตก อูเว่ ซีเลอร์ 582 686 0.85 1954–1972
    29 สวีเดน ซลาตัน อิบราฮีมอวิช 581 998 0.58 1999–ปัจจุบัน
    30 บราซิล ตูลิโอ มาราวิลยา 576 839 0.69 1987–2014
    31 ฮังการี อิมเรอ ชลอสเซอร์ 575 463 1.24 1906–1928
    32 เยอรมนี ฟริตซ์ วอลเตอร์ 574 572 1 1938–1959
    33 ไอร์แลนด์เหนือ เกล็น เฟอร์กูสัน 569 1084 0.52 1987–2011
    34 ออสเตรีย ฟรานซ์ บินเดอร์ 569 431 1.32 1927–1949
    35 อังกฤษ ดิกซี ดีน 568 612 0.93 1923–1940
    36 สกอตแลนด์ ฮิวจี้ กัลลาเชอร์ 566 715 0.79 1920–1940
    37 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ จอห์น อัลดริดจ์ 565 990 0.57 1976–1998
    38 เม็กซิโก ฮูโก้ ซานเชซ 562 956 0.59 1976–1997
    39 โปรตุเกส โฆเซ่ ตอร์เรส 561 615 0.91 1958–1980
    40 สกอตแลนด์ จิมมี่ แมคกรอรี 558 549 1.02 1922–1938
    41 ฮังการี ซานดอร์ โคซิส 556 537 1.04 1946–1966
    42 สเปน อิซิโดร ลังการา 556 445 1.25 1930–1948
    43 ไอร์แลนด์เหนือ จิมมี่ เคลลี่ 552 975 0.57 1926–1955
    44 อังกฤษ เดวิด วิลสัน 551 605 0.91 1927–1947
    45 ไอร์แลนด์เหนือ ทอมมี่ ดิกสัน 546 780 0.7 1946–1966
    46 บราซิล ซิโก้ 546 798 0.68 1971–1994
    47 ฮังการี เฟเรนซ์ ซูสซา 545 598 0.91 1940–1961
    48 อุรุกวัย ลุยส์ ซัวเรซ 543 903 0.60 2005 ปัจจุบัน
    49 สกอตแลนด์ จ๊อค ดอดส์ 542 612 0.89 1932–1950
    50 ฮังการี โยเซฟ ทาคาก์ซ 539 526 1.02 1920–1942
    51 สกอตแลนด์ เดฟ ฮัลลิเดย์ 535 636 0.84 1920–1938
    52 สกอตแลนด์ เจมส์ สมิธ 533 508 1.05 1928–1946
    53 ฮังการี นันดอร์ ฮิเดกคุติ 524 677 0.77 1938–1958
    54 อังกฤษ เดนนิส เวสต์คอตต์ 522 575 0.91 1933–1954
    55 สกอตแลนด์ ฮิวจี้ เฟอร์กูสัน 522 557 0.94 1914–1930
    56 บราซิล โรแบร์โต ไดนาไมต์ 519 869 0.6 1971–1992
    57 ออสเตรีย ฮันส์ แครงเคิล 518 725 0.71 1970–1989
    58 เบลเยียม โจเซฟ เมอร์แมนส์ 516 640 0.81 1937–1960
    59 อาร์เจนตินา สเปน อัลเฟรโด ดิ สเตฟาโน 515 704 0.73 1945–1966
    60 สวีเดน กุนนาร์ นอร์ดาห์ล 514 597 0.86 1936–1961
    61 ไอร์แลนด์เหนือ เทรเวอร์ ธอมป์สัน 512 585 0.88 1955–1969
    62 ไอร์แลนด์เหนือ เดส ดิ๊กสัน 511+ 704 0.73 1964–1983
    63 สกอตแลนด์ เดวิด แมคลีน 511 711 0.72 1906–1931
    64 อังกฤษ สตีฟ บลูมเมอร์ 509+ 760 0.67 1890–1914
    65 ฮังการี เยอร์กี ซาโรซี 507 592 0.86 1929–1948
    66 เนเธอร์แลนด์ วิลลี่ ฟาน เดอร์ กุยเลน 504 805 0.63 1962–1983
    67 แคเมอรูน โรเจอร์ มิลล่า 504+ 906 0.56 1968–1996
    68 เบลเยียม อัลเบิร์ต เดอ คลีน 503 588 0.86 1933–1955
    69 อังกฤษ จอร์จ แคมเซลล์ 503+ 590 0.85 1923–1942
    70 ไอร์แลนด์เหนือ เดนนิส กาย 503+ 631 0.8 1960–1976
    71 อังกฤษ อาร์เธอร์ โรว์ลีย์ 502+ 729 0.69 1941–1967
    72 ฮังการี ลาคอส ทิชชี่ 500 612 0.82 1952–1971

    อ้างอิง[แก้]

    1. 1.0 1.1 "IFFHS STATISTICS – LIONEL MESSI SECOND !". International Federation of Football History & Statistics. 5 June 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2022. สืบค้นเมื่อ 5 June 2022.
    2. Relaño, Alfredo (14 February 2021). "Bican, el goleador perdido tras el humo de la guerra" [Bican, the scorer lost after the smoke of war]. El País (ภาษาสเปน). PRISA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 July 2021. สืบค้นเมื่อ 2 July 2021.
    3. 3.0 3.1 Kolos, Vladimir. "Prolific Scorers Data". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 24 December 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
    4. Haupt, Florian (1 July 2020). "Das Prinzip Messi ist Teil des Problems" [The Messi principle is part of the problem]. Der Spiegel (ภาษาเยอรมัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 November 2020. สืบค้นเมื่อ 2 July 2021.
    5. "Schlosser volt az első 500 gólos focista a futball történetében" [Schlosser was the first 500-goal football player in the history of football]. Origo (ภาษาฮังการี). 24 March 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 August 2021. สืบค้นเมื่อ 20 August 2021.
    6. Wright, Chris (22 December 2020). "Barcelona's Messi stands above Pele, Ronaldo, Eusebio, Muller as all-time top goal scorer for one club". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2021. สืบค้นเมื่อ 7 July 2021.
    7. White, Tom (5 August 2021). "672 goals, 34 trophies, six Ballon d'Or: Lionel Messi's record at Barcelona in numbers". The Independent. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2021. สืบค้นเมื่อ 22 August 2021.
    8. "Dollars, droughts and a half-millennium". FIFA. 28 April 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2021. สืบค้นเมื่อ 5 July 2021.
    9. "Cristiano Ronaldo". worldfootball.net. สืบค้นเมื่อ 11 January 2023.
    10. "Lionel Messi". worldfootball.net. สืบค้นเมื่อ 11 January 2023.
    11. "Robert Lewandowski". worldfootball.net. สืบค้นเมื่อ 11 January 2023.
    12. "Zlatan Ibrahimović". worldfootball.net. สืบค้นเมื่อ 11 January 2023.
    13. Zazzaroni, Ivan (4 February 2021). "Ecco perché Cristiano Ronaldo ha già superato Pelé" [That's why Cristiano Ronaldo has already surpassed Pelé]. Corriere dello Sport – Stadio (ภาษาอิตาลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2021. สืบค้นเมื่อ 30 June 2021.


    อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>