ฉบับร่าง:ภณวัชร์นันท์ ไกรมาตย์
ฉบับร่างนี้ถูกตีกลับ เมื่อ 8 พฤษภาคม 2566 โดย Sry85 (คุย) แหล่งอ้างอิงในบทความที่ส่งไม่ได้แสดงให้เห็นว่าหัวข้อของบทความมีคุณสมบัติเพียงพอจะมีบทความในวิกิพีเดีย กล่าวคือ ไม่ได้มีการกล่าวถึงหัวเรื่องดังกล่าวอย่างมีนัยยะสำคัญ (คือไม่ได้กล่าวถึงอย่างลอย ๆ) ในแหล่งอ้างอิงที่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ, เชื่อถือได้, เป็นแหล่งอ้างอิงทุติยภูมิ ซึ่งเป็นอิสระจากหัวเรื่อง (โปรดดูที่แนวทางว่าด้วยความโดดเด่นของบุคคล) ก่อนจะส่งบทความอีกครั้ง คุณควรใส่แหล่งอ้างอิงที่ตรงกับเงื่อนไขดังกล่าวเพิ่มเติม (โปรดดู ความช่วยเหลือทางเทคนิค และเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ข้อผิดพลาดที่ควรเลี่ยง) หากไม่มีแหล่งอ้างอิงอื่นมาเพิ่มเติม หัวข้อดังกล่าวก็อาจไม่เหมาะสมสำหรับวิกิพีเดีย
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
|
ฉบับร่างนี้ถูกตีกลับ เมื่อ 12 เมษายน 2566 โดย Sry85 (คุย) แหล่งอ้างอิงในบทความที่ส่งไม่ได้แสดงให้เห็นว่าหัวข้อของบทความมีคุณสมบัติเพียงพอจะมีบทความในวิกิพีเดีย กล่าวคือ ไม่ได้มีการกล่าวถึงหัวเรื่องดังกล่าวอย่างมีนัยยะสำคัญ (คือไม่ได้กล่าวถึงอย่างลอย ๆ) ในแหล่งอ้างอิงที่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ, เชื่อถือได้, เป็นแหล่งอ้างอิงทุติยภูมิ ซึ่งเป็นอิสระจากหัวเรื่อง (โปรดดูที่แนวทางว่าด้วยความโดดเด่นของบุคคล) ก่อนจะส่งบทความอีกครั้ง คุณควรใส่แหล่งอ้างอิงที่ตรงกับเงื่อนไขดังกล่าวเพิ่มเติม (โปรดดู ความช่วยเหลือทางเทคนิค และเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ข้อผิดพลาดที่ควรเลี่ยง) หากไม่มีแหล่งอ้างอิงอื่นมาเพิ่มเติม หัวข้อดังกล่าวก็อาจไม่เหมาะสมสำหรับวิกิพีเดีย |
ฉบับร่างนี้ถูกตีกลับ เมื่อ 7 มีนาคม 2566 โดย Sry85 (คุย) The content of this submission includes material that does not meet Wikipedia's minimum standard for inline citations. Please cite your sources using footnotes. For instructions on how to do this, please see Referencing for beginners. Thank you. |
ความคิดเห็น: เข้าข่าย วิกิพีเดีย:อัตชีวประวัติ เขียนเนื้อหาได้อย่างละเอียดลออโดยไม่ทราบแหล่งที่มา รวมถึงเขียนเชิงชื่นชม Sry85 (คุย) 21:09, 28 เมษายน 2566 (+07)
![]() | นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Sry85 (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 21 วันก่อน (ล้างแคช) |
ภณวัชร์นันท์ ไกรมาตย์ | |
---|---|
เกิด | 15 กันยายน พ.ศ. 2507 ประเทศไทย |
สัญชาติ | ไทย |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
อาชีพ | นักธุรกิจ |
คู่สมรส | พัชญ์ชสุทธิ์ ไกรมาตย์ |
บุตร | ณัฐภรศิษย์ ไกรมาตย์ |
ภณวัชร์นันท์ ไกรมาตย์ (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2507) นักธุรกิจชาวไทยซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์ลูกบอลดับเพลิง[1][2]
ครอบครัว[แก้]
สมรสกับนาวาโทหญิง พัชญ์ชสุทธิ์ ไกรมาตย์ มีบุตร 1 คน คือ ณัฐภรศิษย์ ไกรมาตย์[ต้องการอ้างอิง]
ลูกบอลดับเพลิง[แก้]
ระหว่างทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยอาชีวอนามัย ระดับวิชาชีพ บริษัท ฟูจิตสึ เจเนอรัล (ประเทศไทย) จำกัด ได้เกิดเหตุโศกนาฏกรรมเพลิงไหม้โรงแรมรอยัลจอมเทียน (พัทยา) ที่ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดยมีผู้เสียชีวิต 90 ศพ เพลิงไหม้ได้ลุกลามไปตามชั้น 2 ไปจนถึงชั้น 15 เหตุการณ์ในครั้งนั้นเขามองว่า อุปกรณ์ดับเพลิงขั้นต้นที่ใช้ดับเพลิง เป็นปัญหาในการดับเพลิง อีกทั้งถังดับเพลิงที่มีอยู่ในปัจจุบันมีน้ำหนักที่มาก เหมาะสำหรับนักดับเพลิงไม่ใช่กับพลเรือนธรรมดา เขาจึงคิดค้นและประดิษฐ์ลูกบอลดับเพลิง ใช้ดับเพลิงขั้นต้นและใช้ติดตั้งบริเวณจุดเสี่ยง และหากเจอเพลิงสามารถโยนเข้ากองเพลิงได้ทันที[3]
รางวัลที่ได้รับ[แก้]
ปีที่รับ | รายชื่อรางวัล |
---|---|
2562 | Certificate of Outstanding Research and Innovation 60 years Award from the National Research Council of Thailand, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation at Bangkok, Thailand 2019[4] |
2562 | Gold Genius Award The 33rd World Genius Convention, Tokyo, Japan 2019[5][6] |
2562 | Tokyo Award, the 33rd World Genius Convention, Tokyo, Japan 2019[5][6] |
2559 | Top 100 awesome products for the first half of 2016 by AWESOME TECHS[ต้องการอ้างอิง] |
2552 | IFIA CUP for the best innovation, The International Federal of Invention Associations (IFIA), (2nd IIDC) Bangkok 2009[7] |
2552 | High Impact Innovation Award, The Winner Gold Medalist, NRCT & IFIA, (2nd IIDC) Bangkok 2009[ต้องการอ้างอิง] |
2551 | Award for the High Technical Level of Epitome the Creative Idea, Federal Agency for Science and Innovation of Russian Federation, the soul International Invention Fair 2008, Seoul - Korea[ต้องการอ้างอิง] |
2551 | Semi Grand Prize, Korean Invention Promotion Association (KIPA), the Seoul International Invention Fair 2008, Seoul - Korea[8] |
2551 | The Winner of Inventor Award, Area: Engineering and Industry Outstanding Award, Conferred by H.E. Prime Minister (Gen.Surayud Chulanon), (1st IIDC) Bangkok 2008[9] |
2551 | EXCELLENCE AWARD, MINNESOTA INVENTORS CONGRESS USA, (1st IIDC) Bangkok 2008[9][10] |
2551 | WIPO AWARD CERTIFICATE, World Intellectual Property Organization, (1st IIDC) Bangkok 2008[9][11] |
2550 | Genius Bronze Medal, the 21st World Genius Convention, Japan 2007[12] |
2544 | Award from Bulgarian American Chamber of Commerce & Industry at Brussels Eureka 2001[13] |
2544 | The best Invention in Human Security and Saving Award from Russia at Brussels Eureka 2001[14] |
2544 | The Gold Medal with Mention from Eureka Organization, Brussels Belgium, 2001[15] |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2564 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)[ต้องการอ้างอิง]
- พ.ศ. 2553 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.)[ต้องการอ้างอิง]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "WORLD INTELLECTUAL PROPERTY DAY 2008" (PDF). WIPO Magazine. April 2008 (2): 21. สืบค้นเมื่อ 8 March 2023.
- ↑ "คนไทยเจ๋ง! สุดยอดนักประดิษฐ์โลก สร้าง "ลูกบอลดับเพลิง" ใช้ง่าย แค่โยนก็ดับเพลิงได้". ThaiQuote. ThaiQuote. สืบค้นเมื่อ 28 April 2023.
- ↑ "ย้อนรอยโศกนาฏกรรมเมื่อ 25 ปีก่อน เพลิงไหม้โรงแรมหรู คร่าชีวิต 81 ราย". Daily News. เพจโบราณนานมา. สืบค้นเมื่อ 8 March 2023.
- ↑ "วช.มอบรางวัล 12 ผลงานวิจัยและนวัตกรรมดีเด่นฉลอง 60 ปี วช". MGR online. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 28 April 2023.
- ↑ 5.0 5.1 "นักประดิษฐ์ไทยสร้างชื่ออีกครั้ง หลัง 'ภณวัชร์นันท์ ไกรมาตย์' ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัลภายในงาน 'The 33rd world genius convention' ที่ประเทศญี่ปุ่น". MGR online. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 March 2023.
- ↑ 6.0 6.1 "คนแห่ต้อนรับ 'นายกฯนักประดิษฐ์' หลังคว้ารางวัลสิ่งประดิษฐ์ที่ญี่ปุ่น - ขอ ปชช. สืบสานพระราชปณิธาน 'ในหลวง ร.9'". News1. News1. สืบค้นเมื่อ 21 April 2023.
- ↑ "IFIA CUP for the best innovation, The International Federal of Invention Associations (IFIA), (2nd IIDC) Bangkok 2009" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ "Semi Grand Prize, Korean Invention Promotion Association (KIPA), the Seoul International Invention Fair 2008, Seoul - Korea" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 "จัด "วันนักประดิษฐ์โลก" เทิดพระเกียรติในหลวง". MGR online. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 28 April 2023.
- ↑ "EXCELLENCE AWARD, MINNESOTA INVENTORS CONGRESS USA, (1st IIDC) Bangkok 2008" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ "WIPO AWARD CERTIFICATE, World Intellectual Property Organization, (1st IIDC) Bangkok 2008" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ "Genius Bronze Medal, the 21st World Genius Convention, Japan 2007" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ "Award from Bulgarian American Chamber of Commerce & Industry at Brussels Eureka 2001" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ "The best Invention in Human Security and Saving Award from Russia at Brussels Eureka 2001" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.
- ↑ "The Gold Medal with Mention from Eureka Organization, Brussels Belgium, 2001" (PDF). fbss.com.au. FBSS. สืบค้นเมื่อ 31 March 2023.